Page 84 - 05_การปฐมพยาบาล_Neat
P. 84

๗๕




                             (๔) แบบโอกาสเอื้ออํานวย  เปนการสงกลับทางการแพทยเมื่อมียานพาหนะ
                 ในการสงกลับ เชน ผูบาดเจ็บที่มีแผลเปดเล็กนอย   เคล็ด ขัด ยอก แผลไหม < ๒๐% เปนตน


                 ¤ÇÒÁμ‹Íà¹×èͧ㹡Ãкǹ¡ÒÃจําṡ

                             การจําแนกเปนกระบวนการที่จะตองทําอยางตอเนื่องเพราะอาการของผูบาดเจ็บ
                 อาจทรุดลง และสถานการณของการสนับสนุนและทรัพยากรทางการแพทยอาจมีการเปลี่ยนแปลง

                 ผูบาดเจ็บตองไดรับการประเมินและพิจารณาเปลี่ยนแปลงกลุมคัดแยกใหม โดยทั่วไปเมื่อผูบาดเจ็บ
                 ยังอยูในหนวยพยาบาลเดิมควรไดรับการประเมินทุกๆ ๑๕ นาที ซึ่งอาจจะนําไปสูการจัดกลุมคัดแยกใหม

                 และเมื่อผูบาดเจ็บถูกสงกลับก็ตองทําการประเมินและคัดแยกใหมเสมอในหนวยพยาบาล
                 ทุกระดับ เพราะอาการผูบาดเจ็บอาจเปลี่ยนแปลง และหนวยพยาบาลอาจมีขีดความสามารถสูงขึ้น

                             สถานการณในพื้นที่รวมทั้งทรัพยากรที่มีอยูตองนํามาพิจารณาในการเปลี่ยนแปลง
                 การจําแนกผูบาดเจ็บดวยเสมอ การตัดสินใจที่ยากและทาทายที่สุดแตตองทําเปนอันดับแรก คือ

                 การตัดสินใจเปลี่ยนผูบาดเจ็บรุนแรงที่เคยอยูในกลุมเรงดวนมาอยูในกลุมหมดหวัง การเปลี่ยนแปลงนี้

                 จะขึ้นกับสมดุลระหวางจํานวนผูบาดเจ็บและความรุนแรงของการบาดเจ็บกับทรัพยากรที่มีอยู


                 ¡ÒÃจําṡ¼ÙŒºÒ´à¨çºã¹·Õèà¡Ô´àËμØ

                             ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุที่มีผูบาดเจ็บจํานวนมาก เชน รถโดยสารประจําทางพลิกควํ่า

                 เครื่องบินโดยสารไถลออกนอกทางวิ่ง หรือเจาหนาที่ตํารวจเกิดการปะทะกับผูราย การเขาชวยเหลือ
                 ผูบาดเจ็บในที่เกิดเหตุนี้ยอมมีความยากลําบากและสับสนมากกวาการรักษาพยาบาลในหนวยพยาบาล

                 แพทยหรือเจาหนาที่ที่ปฏิบัติหนาที่ในที่เกิดเหตุจะตองคํานึงถึงความปลอดภัยของตนเอง การจําแนก
                 การปฐมพยาบาล และการสงกลับผูบาดเจ็บที่รวดเร็วและถูกตอง

                             ในที่เกิดเหตุหัวหนาชุดเผชิญเหตุจะมีหนาที่บังคับบัญชาและควบคุมการทํางานของกําลังพล
                 ในชุด  รวมทั้งอํานวยการและประสานงานกับผูบังคับบัญชาหนวยในพื้นที่ในการปฏิบัติงานดานการแพทย

                 (Medical coordinator) โดยทั่วไปจะเปนเจาหนาที่ทางการแพทยที่อาวุโสที่สุดในชุด หัวหนาชุด
                 จะตองจัดเจาหนาที่จําแนกผูบาดเจ็บ (Triage officer) ซึ่งอาจจะเปนแพทยหรือเจาหนาที่พยาบาลที่มี

                 ประสบการณทําหนาที่ในการจําแนกผูบาดเจ็บและเจาหนาที่อื่นๆ ในการปฐมพยาบาลใหการชวยเหลือ
                 ผูบาดเจ็บ โดยทั่วไปหัวหนาชุดไมควรเปนผูทําการจําแนกและรักษาพยาบาลผูบาดเจ็บดวยตัวเอง

                 นอกจากจะมีความจําเปนเนื่องจากกําลังพลไมพอ จํานวนกําลังพลของชุดเผชิญเหตุขึ้นกับจํานวน
                 ผูบาดเจ็บที่ประมาณไวและกําลังพลทั้งหมดที่มีอยูในหนวย อุปกรณสําหรับชุดเผชิญเหตุจะตองเตรียม

                 ปายจําแนก อุปกรณปฐมพยาบาล เปล รถพยาบาล และอุปกรณติดตอสื่อสาร เมื่อชุดเผชิญเหตุไปถึง
                 ที่เกิดเหตุจะตองรายงานตัวตอผูบัญชาการสถานการณ (Incident commander) ในที่เกิดเหตุ หัวหนา

                 ชุดเผชิญเหตุจะตองรับทราบรายละเอียดของสถานการณ จํานวนผูบาดเจ็บโดยประมาณ และอันตราย
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89