Page 70 - รวมแผนยุทธศาสตร์รูปเล่มปี2561-2564
P. 70
43
ชื่อตัวชี้วัด 2.2.1 อัตราการเกิดปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ (VAP: Ventilator
Associated Pneumonia)
ค านิยามตัวชี้วัด ปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการเครื่องช่วยหายใจ (VAP: Ventilator Associated
Pneumonia) หมายถึง การติดเชื้อที่ปอด เรียกว่าปอดอักเสบที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่
ผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ ≥ 48 ชั่วโมงหรือเกิดขึ้นภายหลังจากผู้ป่วยได้รับการถอด
เครื่องช่วยหายใจไม่เกิน 48 ชั่วโมง
เกณฑ์เป้าหมาย ปี 2561
เกณฑ์เป้าหมาย ≤10/1,000vent-day ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วย ≤10/1,000vent- ≤10/1,000vent- ≤10/1,000vent-
หายใจทุกราย day day day
วิธีการจัดเก็บข้อมูล ICWN เฝ้าระวังการติดเชื้อโดยใช้เกณฑ์วินิจฉัยปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วย
หายใจ เมื่อพบการติดเชื้อบันทึกในสมุดเฝ้าระวังการติดเชื้อของหน่วยงาน โดย ICN เป็นที่
ปรึกษาและยืนยันการวินิจฉัยปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ อีกครั้งหนึ่ง
แหล่งข้อมูล กลุ่มงานการพยาบาลด้านการควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ
รายการข้อมูล1 A: จ านวนครั้งของปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการเครื่องช่วยหายใจ
รายการข้อมูล2 B: จ านวนวันทั้งหมดที่ผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
สูตรค านวณตัวชี้วัด (Ax1000)/B
ระยะเวลาประเมินผล เดือนละ 1 ครั้ง
รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน ตัวชี้วัด
รายละเอียดข้อมูล ตัวชี้วัดอัตราการ ผลการด าเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.
พื้นฐาน เกิดปอดอักเสบที่ 2558 2559 2560
วิธีการประเมินผล สัมพันธ์กับการใช้ หน่วยวัด
เครื่องช่วยหายใจ
เปรียบเทียบการ ครั้ง ต่อ 1,000 วันที่ผู้ป่วย 7.01 8.64 4.98
ด าเนินการกับ ใช้เครื่องช่วยหายใจ
เป้าหมาย 12 เดือน (Ventilator-days)
เอกสารสนับสนุน คู่มือการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ผู้ประสานงานตัวชี้วัด/ นางสาวปริญญา ประสานจิตร
ผู้รับผิดชอบรายงานผล หัวหน้ากลุ่มงานการพยาบาลด้านการควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ
การด าเนินการ โทร. 054 533 500 ต่อ 8703 E-mail pprasanchit@hotmail.com
แผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลแพร่ ปี พ.ศ. 2561 - 2564