Page 87 - รวมแผนยุทธศาสตร์รูปเล่มปี2561-2564
P. 87
60
ชื่อตัวชี้วัด 3.1.4 ระบบ Fast Track ที่มีประสิทธิภาพ Trauma
ค านิยามตัวชี้วัด ระบบ Fast Track ที่มีประสิทธิภาพ หมายถึง ผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บ Blunt trauma บริเวณ
ทรวงอก (chest) หรือช่องท้อง (abdomen ) ร่วมกับ Fast positive หรือ penetrating
trauma area proximal to wrist หรือ ankle หรือ vascularร่วมกับ ผู้ป่วยที่มีภาวะ shock
class III ยกเว้น Moderate or severe head injury ร่วมด้วย ประกอบด้วย
1.ผู้ป่วย Trauma fast tract ได้รับการดูแลรักษาก่อนน าส่งโรงพยาบาลแพร่อย่าง
เหมาะสม หมายถึง การดูแลรักษาจากจุดเกิดเหตุ /โรงพยาบาลชุมชน ได้รับการรักษาพยาบาล
เบื้องต้น การแก้ไขภาวะคุกคามชีวิต และการรักษาอย่างต่อเนื่องรวมทั้งการส่งต่ออย่าง
เหมาะสม
2.จ านวนผู้ป่วย Trauma fast track ใช้เวลา Door to Surgical น้อยกว่า 60 นาที
หมายถึงผู้ป่วยบาดเจ็บรุนแรงที่ต้องได้รับการผ่าตัดฉุกเฉิน สามารถเข้าห้องผ่าตัดได้ภายใน 60
นาที หลังมีค าสั่งจากแพทย์เฉพาะทาง
3. ค่าโอกาสรอดชีวิต (Ps) หมายถึง การพิจารณาข้อมูลของผู้บาดเจ็บ โดยอาศัยวิธีของ
TRISS Methodology โดยใช้ค่า Probability of Survival(Ps) ซึ่งค านวณจากตัวแปรที่ส าคัญ
คือ Glasgow coma score (GSC) ความดันโลหิตค่าซิสโตลิก (Systolic BP) อัตราการหายใจ
อายุของผู้บาดเจ็บ กลไกการบาดเจ็บ ต าแหน่งที่มีการบาดเจ็บ (Body region) และระดับ
ความรุนแรง (Abbreviated injury scale)
เกณฑ์เป้าหมาย
ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
1. ผู้ป่วย Trauma fast tract 70% 80% 85% 90%
ได้รับการดูแลรักษาก่อนน าส่ง
โรงพยาบาลแพร่อย่างเหมาะสม
2. จ านวนผู้ป่วย Trauma fast 70% 80% 85% 90%
track ใช้เวลา Door to Surgical
น้อยกว่า 60 นาที
3 อัตราตายของผู้ป่วยอุบัติเหตุที่มี ไม่เกิน 1 ไม่เกิน 1 ไม่เกิน 1 ไม่เกิน 1
ค่า Ps score 0.75 - 1 % % % %
วิธีการจัดเก็บ แบบรายงานการเฝ้าระวังการบาดเจ็บ (IS) , สถิติข้อมูลผู้ป่วย Trauma fast track
แหล่งข้อมูล ข้อมูลผู้ป่วย Trauma ที่มารับบริการ , โปรแกรม IS win online
สูตรค านวณตัวชี้วัด 1. ผู้ป่วย Trauma fast tract ได้รับการดูแลรักษาก่อนน าส่งโรงพยาบาลแพร่อย่างเหมาะสม
แผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลแพร่ ปี พ.ศ. 2561 - 2564