Page 124 - Prawet
P. 124

129







                       2.3.3 การเดินทางโดยรถไฟฟาระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ(Bangkok Transit
                       System : BTS) โดยสารรถไฟฟา (BTS) สามารถเดินทางได 2 เสนทาง คือ
                       เสนทางที่ 1ลง BTS สถานีออนนุช ออกประตูทางออกหมายเลข 1 เดินมาไปที่บิ๊กซี เอ็กตราออนนุช
                       และขามถนนเพื่อตอรถประจําทางสาย 1013 พระโขนง-หัวตะเข ลงที่โรงพยาบาลสิรินธร แลวขาม

                       ถนนเพื่อตอรถสองแถวสีน้ําเงินตลาด 999 (นําชัย) - วัดกิ่งแกว โดยศูนยเรียนรูปาในกรุง ปตท. จะอยู
                       ทางซายมือ ระหวางถนนสุขาภิบาล2 ซอย 23 กับ ซอย 25 เห็นรานกาแฟ @เชียงใหม กดกริ่ง รถจะ
                       จอดหนาศูนยเรียนรูปาในกรุง ปตท. มีหอชมปาเปนจุดสังเกต
                       เสนทางที่ 2 ลง BTS สถานีอุดมสุข ออกประตูทางออกหมายเลข 5 เพื่อตอแท็กซี่ ที่หนาราน

                       LOWSON108 Shop
                       กกกกกกก3.ความสําคัญของปาในกรุง
                       กกกกกกกเปนโครงการเพื่อพัฒนาพื้นที่สีเขียวในสังคมเมือง มีการออกแบบอาคารที่กลมกลืนกับ
                       สิ่งแวดลอม ตนแบบนวัตกรรมอาคารสีเขียว เพื่อใหเปนแหลงเรียนรูการปลูกปาเชิงนิเวศแบบยั่งยืน

                       ซึ่งในอนาคตปานี้จะเติบโตและสรางความอุดมสมบูรณใหกับพื้นที่ เปนรูปแบบการศึกษาและเรียนรู
                       ปาในเมือง เชื่อมโยงและสรางความใกลชิดระหวางคนกับปา
                       กกกกกกกกลาวโดยสรุป เปนสถานที่สําคัญที่ชวยในการสงเสริมในเกิดความตระหนักและเห็นคุณคา

                       ของธรรมชาติมากยิ่งขึ้น
                       กกกกกกก4.องคความรูและพรรณไมของปาในกรุง
                       กกกกกกก4.1 องคความรู
                        4.1.1“โครงการปาในกรุง” เพื่อพลิกฟนปานิเวศในเมืองหลวง
                       จากประสบการณความรูการปลูกปา 1 ลานไร สถาบันปลูกปา ปตท.             ไดตอยอดแนวคิดใน

                       การพัฒนาจากความเชื่อวาทุกพื้นที่ของประเทศสามารถสรางปาที่สมบูรณไดทุกแหง และความทา
                       ทายในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหกับกรุงเทพมหานคร เพื่อพัฒนาสิ่งแวดลอมใหดีขึ้น             ดวย
                       ตระหนักถึงความตองการเพิ่มพื้นที่ปาในเมืองใหญ บรรเทาภาวะโลกรอนที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น

                       รวมถึงการสรางผลสัมฤทธิ์เรื่องหลักประกันการดํารงอยูของผืนปาธรรมชาติในประเทศไทยอยางยั่งยืน
                       ตามแนวพระราชดํารัสเรื่อง “ปลูกปาในใจคน”
                       4.1.2ประยุกตแนวคิดการสรางปานิเวศ พัฒนาสู “โครงการปาในกรุง”                หนึ่งในแนวคิดที่
                       ไดนํามาประยุกตสรางผืนปาในกรุงขึ้นมาก็คือ“ทฤษฎีปลูกปานิเวศ”ของ ศ.ดร.อาคิระ มิยาวากิ”

                       ศาสตราจารยเกียรติคุณมหาวิทยาลัยแหงชาติโยโกฮามา และผูอํานวยการสถาบันการเรียนรูดาน
                       นิเวศวิทยานานาชาติประจําประเทศญี่ปุน หลักคิดทฤษฎีนี้ไดถูกนําไปประยุกตใชกับโครงการปลูกปา
                       ในพื้นที่เมืองจนประสบความสําเร็จแพรหลายไปทั่วโลกแลวกวา 1,500 แหง
                       4.1.3 นวัตกรรมการปลูก “ปาในกรุง”

                       1)การสํารวจชนิดสังคมพืช และชนิดพันธุไมดั้งเดิมของพื้นที่ เพื่อคัดเลือกชนิดพันธุไมที่จะปลูกให
                       ใกลเคียงกับกลุมพันธุไมเดิม
                       2)เตรียมกลาจากการเพาะเมล็ด โดยกลาไมที่ใชทั้งหมดที่เพาะ                   จากเมล็ดและสวนหนึ่ง
                       มาจากเรือนเพาะชํากลาไมที่ บริษัท ปตท.จํากัด (มหาชน) ดําเนินการอยู
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129