Page 125 - Prawet
P. 125

130







                       3)กลาไมนํามาปลูกมีอายุ 6 เดือนขึ้นไป ความสูง 80-100 เซนติเมตร ปลูกในถุงดํามีระบบรากแกวที่
                       สมบูรณแข็งแรง
                       4)ใชพันธุไมธรรมชาติดั้งเดิมหลากหลายชนิด ผสมผสานทั้งกลุมพันธุไมโตเร็ว ที่ชวยสรางรมเงาและ
                       พันธุไมโตชาที่มีคุณคาเศรษฐกิจ หลากหลายชนิด และหลายระดับชั้นเรือนยอดเลียนแบบโครงสราง

                       ปาธรรมชาติ
                       5)ปลูกถี่ ใชระยะปลูกประมาณ 3-4 ตนตอตารางเมตร (ประมาณ 6,400 ตนตอไร) และการคละกลา
                       ไมปลูกแบบสุม ไมเปนแถวเปนแนว ซึ่งทําใหกลาไมแขงกันโต ตนไมที่มีศักยภาพตามธรรมชาติจะอยู
                       รอดและพัฒนาเปนตนไมในปาที่สมบูรณ

                       4.1.4เทคนิคเฉพาะที่ใชปลูกปาในกรุง
                       1)การสรางเนินดิน เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวดิน เพิ่มธาตุอาหารและอินทรียวัตถุในดิน และชวยในการระบาย
                       น้ํา ระบายอากาศ
                       2)นําตุมดินของกลาไมจุมน้ําใหดินอิ่มตัวกอนนําไปปลูก เพื่อเพิ่มความชุมชื้นใหกลาไม

                       3) ใชฟางขาว หรือหญาแหงคลุมรอบบริเวณโคนกลาไมที่ปลูก เพื่อชวยชะลอการระเหยของความชื้น
                       ในดิน เพิ่มอินทรียวัตถุในดิน และเพิ่มความรวนซุยของดินเมื่อฟางขาวยอยสลาย
                       4)การดูแล บํารุงรักษา มีความจําเปนเพียงในชวง 1-2 ปแรก หลังจากนั้นปลอยใหปาจัดการตัวเอง

                       ตามธรรมชาติ ซึ่งจะพัฒนาเปนปานิเวศที่ใกลเคียงกับปาธรรมชาติดั้งเดิม

                       4.1.5อาคารนิทรรศการและเสนทางศึกษาธรรมชาติ
                       1)พื้นที่อาคารนิทรรศการและสํานักงาน 1.8 ไร ใชสําหรับการเยี่ยมชมและศึกษาเรียนรู ออกแบบโดย
                       ใหความสําคัญกับ 2 ประเด็นหลัก คือ“กลมกลืนกับสภาพแวดลอม” เนนใหตัวอาคารกลมกลืนกับ

                       สภาพแวดลอม เชน รูปทรงอาคารที่คลายกับลําตนของตนไม หลังคาใชปลูกตนไมในรูปแบบ Roof
                       Garden เมื่อมองจากมุมสูงจะพบวาอาคารเขียวกลมกลืนกับธรรมชาติเสมือนเปนสวนหนึ่งของผืนปา
                       และ“ตนแบบของนวัตกรรมอาคารเขียว” นอกเหนือจากการออกแบบอาคารแลว ในกระบวนการ

                       กอสราง และการคัดเลือกวัสดุตาง ๆ ยังใชเทคโนโลยีสีเขียว (Green Technology)  ในการกอสราง
                       ซึ่งเขารวมการประเมินอาคารประหยัดพลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม LEED  (Leadershipin
                       Energy and  Environmental  Design) ของหนวยงาน USGBC (US  Green  Building Council)
                       โดยมีเปาหมายที่ระดับ Platinum ซึ่งมีความโดดเดน ดังนี้

                       2)อาคารผนังดินบดอัด ผนังอาคารของโครงการปาในกรุง ความสูง 6 เมตร ใชวัสดุดินธรรมชาติซึ่งให
                       คาสีที่แตกตางกัน องคประกอบของธาตุตาง ๆ ในดิน เฉดสีดังกลาวมีสีสันเปนธรรมชาติ กลมกลืนกับ
                       สภาพแวดลอม ผนังดินยังเปนฉนวนกันความรอนสูงชวยลดความรอนที่จะเขาสูตัวอาคารและลดภาระ
                       ของเครื่องปรับอากาศดวย

                       4.1.6การพัฒนาหลังคาสีเขียว (Roof Garden)
                       หลังคาอาคารออกแบบสําหรับการชมทิวทัศนของ “โครงการปาในกรุง” มองภาพในจินตนาการของ
                       ปาในกรุงที่ปาเติบใหญงดงามในอนาคตผานกลองพิเศษ นอกจากนี้ หลังคาอาคารยังมีการสรางสวนสี
                       เขียวดวยการปลูกตนไมนานาพรรณ เสมือนการติดตั้งฉนวนอยางดีแกหลังคาอาคาร ชวยลดความรอน

                       เขาสูตัวอาคาร และสรางความกลมกลืนของอาคารกับผืนปา
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130