Page 126 - Prawet
P. 126
131
4.1.7เสนทางศึกษาธรรมชาติ
ทางเดินยกระดับ (Skywalk) และหอชมปา (Observation Tower)เสนทางศึกษาธรรมชาติออกแบบ
เปนทางเดินยกระดับ มีความสูงตั้งแตระดับพื้นดินถึงระดับความสูง 10.2 เมตร ระยะทาง 200 เมตร
สําหรับเปนเสนทางเรียนรูและชมทัศนียภาพผานเรือนยอดของสังคมพืชชนิดตาง ๆ ของปาในกรุง ซึ่ง
เชื่อมไปสู หอชมปา สูง 23 เมตร ที่สามารถชม “โครงการปาในกรุง” แบบรอบทิศทาง ซึ่งตลอด
เสนทางจะสัมผัสไดถึงการเติบโตของกลาไมเล็ก ๆ สูการเปนปานิเวศที่สมบูรณ
4.1.8พื้นที่สภาพแวดลอมภายนอกอาคาร
การออกแบบแหลงกักเก็บน้ําโดยใชหลักการ Zero Runoff เพื่อบริหารจัดการน้ําฝนที่ตกลงในพื้นที่
ใหเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด และไมสรางปญหากับพื้นที่ดินขางเคียงรวมกับการใชระบบน้ําหมุนเวียน
เพื่อใหความชุมชื้นแกพื้นที่ปา ลดภาระการดูแลรักษาปาไมในระยะยาว ออกแบบและจําลองน้ําตก
ทําใหมีทัศนียภาพที่สวยงามเปนธรรมชาติ รวมทั้งปลูกพืชน้ํา และหญาแฝก บริเวณตลิ่งเพื่อการ
อนุรักษดินและน้ํา มีน้ํา มีปามีการสงเสริมใหใชจักรยานในพื้นที่ โดยจัดใหมีพื้นที่จอดจักรยานอยาง
เปนระเบียบเรียบรอย สงเสริมใหผูใชงานอาคารเลือกใชรถยนตที่ประหยัดพลังงาน ลดการปลอย
มลภาวะ และเดินทางรวมกัน โดยจัดใหมีที่จอดรถสําหรับรถประหยัดพลังงาน หรือลดการปลอย
มลภาวะนอย มีการติดตั้ง PV Cell บนที่จอดรถยนต ลดปรากฏการณเกาะรอน และผลิตพลังงาน
ไฟฟาทดแทนใหกับอาคารขนาด 14 กิโลวัตตสูงสุด (kWp) หรือ 16,800 กิโลวัตตชั่วโมงตอป
(kWh/yr) เทียบเทากับการใชพลังงานรอยละ 7 ของการใชพลังงานทั้งปของอาคาร
4.1.9การใชวัสดุที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและประหยัดพลังงาน
“โครงการปาในกรุง” ใหความสําคัญตอวงจรชีวิตของวัสดุตาง ๆ ที่ใชในโครงการ โดยวัสดุที่นํามาใช
ตองสามารถผลิตไดภายในประเทศ มีการแปรรูปนอย เพื่อลดการใชพลังงานในการผลิต และการ
ขนสง เชน อิฐบล็อกประสานทําจากดิน ใชไมไผเพื่อลดการใชซีเมนต รวมถึงเลือกใชวัสดุที่กอเกิด
มลพิษนอย และควบคุมมลพิษจากภายนอกที่จะเขาสูอาคาร เชน ติดตั้งพรมดักฝุนหนาประตูทางเขา
และแผนกรองอากาศประสิทธิภาพสูง รวมถึงการใชแสงจากภายนอกชวยใหความสวางในตัวอาคาร
เพื่อลดการใชไฟฟา เปนตน
4.1.10หองนิทรรศการ
นิทรรศการแบงออกเปนสองสวนคือ สวนนิทรรศการเพื่อการเรียนรู และหองฉายภาพยนตรขนาดเล็ก
(Mini Theater)
กกกกกกก4.2 พรรณไมของปาในกรุง
โครงการปาในกรุง นั้น มีการจัดสรรสัดสวนใหเปนพื้นที่ปารอยละ 75 พื้นที่น้ํารอยละ 10 และพื้นที่
เอนกประสงคใชงานอื่นๆ อีกรอยละ 15 โดยปลูกไมแบบผสมผสานหลากระดับชั้นเรือนยอดของสาย
พันธุไมมากกวา 250 ชนิด ลงในพื้นที่เดียวกัน อาทิ ยางนา ตะเคียนทอง โพ ไทร ไกร กราง เต็ง
จันทรหอม กระดังงาไทย พะยูงประดูปา ราชพฤกษ รวงผึ้ง ไทรยอยใบทู เปนตน
กลาวโดยสรุปปาในกรุง คือ การปลูกตนไมบนพื้นที่เนินดิน ที่ไดรับการออกแบบและมีการปรับพื้นที่
อยางเหมาะสม โดยกําหนดใหเปนสังคมปาไมที่ปรากฏในประเทศไทย โดยมีพันธุไมโดดเดนของสังคม
ปานั้นๆ ปาในกรุงไดเปดใหประชาชนเขาไปศึกษาหาความรู ซึ่งมีความรูเกี่ยวกับธรรมชาติที่นาสนใจ
มากมาย