Page 22 - Prawet
P. 22

25







                              ประเภทที่ 3ประเภทวัสดุและสถานที่ไดแก อาคารสิ่งกอสรางวัสดุอุปกรณและสิ่ง     ตาง ๆ
                       ที่ประชาชนสามารถศึกษาหาความรูใหไดมาซึ่งคําตอบ หรือสิ่งที่ตองการเห็น ไดยิน สัมผัส เชน
                       หองสมุด ศาสนสถาน ศูนยการเรียน พิพิธภัณฑ สถานประกอบการ ตลาด นิทรรศการ  สถานที่ทาง
                       ประวัติศาสตร ชุมชนแหงการเรียนรูตาง  ๆ

                              ประเภทที่ 4ประเภทสื่อไดแก สิ่งที่ทําหนาที่เปนสื่อกลางในการถายทอดเนื้อหาความรู
                       สารสนเทศใหถึงกันโดยผานประสาทสัมผัส ไดแก หู ตา จมูก ลิ้น กาย และใจ แหลงเรียนรูประเภทนี้
                       ทําใหกระบวนการเรียนรูเปนไปไดอยางรวดเร็วมีประสิทธิภาพสูงทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส สื่อสิ่งพิมพ สื่อ
                       โสตทัศน

                              3.1  ประเภทที่ 5ประเภทเทคนิคสิ่งประดิษฐคิดคน ไดแก สิ่งที่แสดงถึงความกาวหนาทาง
                       นวัตกรรมเทคโนโลยีดานตาง ๆ ที่ไดมีการประดิษฐคิดคน หรือพัฒนาปรับปรุงขึ้นมาใหมนุษยได
                       เรียนรูถึงความกาวหนาเกิดจินตนาการแรงบันดาลใจ
                              3.1  ประเภทที่ 6ประเภทกิจกรรม ไดแก การปฏิบัติการดานประเพณีวัฒนธรรมตลอดจน

                       การปฏิบัติการความเคลื่อนไหวเพื่อแกปญหาและปรับปรุงพัฒนาสภาพตาง ๆ ในทองถิ่น การที่มนุษย
                       เขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ เชน การรณรงคปองกันยาเสพติด การสงเสริมการเลือกตั้งตาม
                       ระบบประชาธิปไตย การรณรงคความปลอดภัยของเด็กและสตรีในทองถิ่น

                                     3.2  แหลงเรียนรูประเภทหองสมุดจําแนกออกเปนประเภทยอยได 5ประเภทดังนี้
                                   3.2   ประเภทที่  1  ประเภทหองสมุดโรงเรียน เปนหองสมุดที่ตั้งขึ้นในโรงเรียนทั้งใน
                       ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา เพื่อสงเสริมการเรียนการสอนตามหลักสูตรใหมี
                       ประสิทธิภาพ ตลอดจนเพื่อสนองความตองการของนักเรียน ครู ผูปกครอง และชุมชน นอกจากนี้ยัง
                       ชวยสรางเสริมนิสัยรักการอาน และการศึกษาคนควาดวยตนเองใหแกนักเรียน เพื่อเปนรากฐานในการ

                       ใชหองสมุด อื่น ๆ ตอไป
                                   3.2   ประเภทที่2ประเภทหองสมุดมหาวิทยาลัย เปนหองสมุดของสถาบันอุดมศึกษา
                       ใหบริการทางวิชาการแกนิสิต นักศึกษา และอาจารย เพื่อใชประกอบการเรียนการสอนและการ

                       คนควาวิจัย ทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภทที่รวบรวมไวในหองสมุดมหาวิทยาลัย มีความทันสมัย
                       และสอดคลองกับหลักสูตรการสอน การวิจัยและกิจกรรมตาง ๆ ของแตละสถาบัน
                                   3.2   ประเภทที่3  ประเภทหองสมุดเฉพาะ เปนหองสมุดของหนวยงานราชการบริษัท
                       สมาคม ตลอดจนองคการระหวางประเทศตาง ๆ เปนแหลงเก็บรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศ ที่มี

                       เนื้อหาเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง และสาขาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อใหบริการแกผูใชซึ่งเปน
                       บุคลากรที่สังกัดหนวยงานนั้น เปนแหลงคนควาขอมูลเพื่อนําไปใชปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
                                   3.2   ประเภทที่4ประเภทหองสมุดประชาชน เปนหองสมุดที่ใหบริการทรัพยากร
                       สารสนเทศแกประชาชนในทองถิ่นโดยไมจํากัดวัย ระดับความรู เชื้อชาติและศาสนา เพื่อใหสอดคลอง

                       กับความตองการของชุมชนแตละแหง เปนการสงเสริมการศึกษาคนควาดวยตนเองตลอดชีวิตของ
                       ประชาชนในชุมชน
                                   3.2   ประเภทที่5ประเภทหอสมุดแหงชาติ เปนแหลงรวบรวมและเก็บรักษาสิ่งพิมพ ที่
                       พิมพขึ้นภายในประเทศไวอยางสมบูรณ และอนุรักษใหคงทนถาวร เพื่อใหบริการศึกษาคนควาแก
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27