Page 66 - Prawet
P. 66
70
น้ําตาล นิยมทําในชวงสารทไทยแรม 15 ค่ํา เดือน 10 และบางทองถิ่นนิยมรับประทานกับกลวยไข มี
กลาวถึงในนิราศเดือนสิบวาขนมกระยาสารทเปนขนมโบราณ มีความพิเศษตรงที่เปนขนมสําหรับงาน
บุญประเพณีของไทย
แมขนมกระยาสารทจะเปนขนมไทยที่มีมาตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัย แตรากศัพทของคําวาสารทจริง ๆ
แลวเปนคําในภาษาอินเดีย มีความหมายวา ฤดูใบไมรวง หรือชวงระยะปลายฝนตนหนาว ซึ่งเปนเวลา
เดียวกันกับฤดูการผลิดอกออกผลของพืชพันธุ โบราณจึงถือกันวาควรจะนําผลผลิตเหลานั้นมาถวาย
แดสิ่งศักดิ๋สิทธิ์เพื่อเปนการสักการะ และขอพรใหพืชของตนออกดอกออกผลดกดี และประเพณีนี้ก็มี
ในแถบประเทศจีนและตอนเหนือของยุโรปดวย แตสําหรับไทยแลวประเพณีนี้มาแพรหลายในชวงสมัย
สุโขทัย พรอม ๆ กับพราหมณที่เริ่มเขามามีบทบาทในไทย แตชวงเวลาของประเพณีตามอินเดีย เปน
ชวงเวลาที่ตรงกับระยะขาวเริ่มออกรวงของไทย ชาวบานจึงเกี่ยวขาวที่ยังมีเปลือกออน ๆ และเมล็ดยัง
ไมแก เอามาคั่วแลวตําใหเปนเมล็ดขาวแบน ๆ เรียกวา ขาวเมาแทน
กกกกกกกสารท เปนคําเรียกชวงเวลาหรือฤดูกาลแรกเก็บเกี่ยวผลิตผลจากการเพาะปลูกในวิถีชีวิต
ของคนไทยมักเริ่มทําการ เพาะปลูกชวงตนฤดูฝนจนกระทั่งไดผลผลิตพรอมเก็บเกี่ยวประมาณเดือน
10 ซึ่งเรียกชวงเวลานี้วา เทศกาล สารทเดือน 10สําหรับคนไทยและชาวอุษาคเนยที่ดํารงชีวิตดวยการ
กสิกรรมแลว ในฤดูกาลเก็บเกี่ยวจะมีพิธีกรรมที่แสดงความ ขอบคุณตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เปนตัวแทนของ
ดินฟาอากาศ ซึ่งเชื่อวาไดชวยอํานวยความอุดมสมบูรณและคุมครองใหพืชที่เพาะปลูก ไดเจริญเติบโต
จนสามารถเก็บเกี่ยวเปนอาหารเลี้ยงชีพได โดยจะนําพืชพันธุธัญญาหารที่เปนผลผลิตแรกเก็บเกี่ยวไป
แปรรูปเปนอาหารเฉพาะเทศกาล แลวนําอาหารนั้นไปบวงสรวงเซนไหวสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตางๆ
กกกกกกกในพระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเรื่อง พระราชพิธี 12 เดือน
ทรงมีพระราชวิจารณไววา พระราชพิธีสารทนาจะเปนธรรมเนียมของพราหมณมาแตเดิม จนประมาณ
รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงมี พระราชดําริใหนําคติแบบพระพุทธศาสนาเขา
มาปรับเปลี่ยนพระราชพิธีตางๆ ราชสํานักจึงไดเพิ่มเติมพิธีสงฆแบบพุทธเขาไปในพิธีโบราณหลายพิธี
ทําใหพระราชพิธีตางๆ มีลักษณะของทั้งพิธีพุทธและพิธีพราหมณในพิธีสารทจึงมีการนําอาหาร
เทศกาลสารทไปถวายเปนภัตตาหารแดพระสงฆเพื่อเปนการทําบุญอุทิศสวนกุศลแกบรรพบุรุษและผู
ลวงลับของครอบครัว ตอมาภายหลังจึงไดกลายเปนเทศกาลทําบุญที่ปฏิบัติกันทั่วทุกภูมิภาคใน
สังคมไทย เชน ประเพณีชิงเปรตในภาคใต การทําบุญขาวสารในภาคอีสาน เปนตน
กกกกกกกสําหรับธรรมเนียมการปรุงอาหารจากพืชพันธุธัญญาหารแรกเก็บเกี่ยวในเทศกาลสารทนั้น
ถือวาเปนการประกอบ อาหารที่มีความประณีตเพื่อแสดงความสักการะตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือพระ
พุทธคุณ โดยมีความพิถีพิถันแตกตางกันไปตามลําดับ ชั้นของผูประกอบพิธีกรรมดวยในพระราชพิธี
สารทของหลวงจะมีการปรุงอาหารที่ประณีตกวา มีธรรมเนียมการปรุงอาหารใน วันสารทที่ชื่อวา ขาว
ทิพย ซึ่งเปนอาหารโบราณในพระราชพิธีมาตั้งแตสมัยอยุธยา โดยนําพืชพันธุธัญญาหารตางๆ อาทิ
ขาว ถั่ว งา น้ําผึ้ง น้ําออย รวมถึงผลไมชั้นดีชนิดตางๆ มากวนในกระทะใหเปนเนื้อเดียวกันจนไดเปน
ขนมเหนียวๆ ขาวทิพยมีชื่อเรียกอีก อยางหนึ่งวา มธุปายาส ซึ่งเปรียบเปนอาหารที่นางสุชาดาถวาย
แดพระพุทธเจากอนที่พระพุทธองคจะตรัสรู ตอมาในสมัยรัชกาลที่4โปรดใหเพิ่มอาหารอีกชนิดหนึ่งใน
พระราชพิธีสารทคือ ขาวยาคูทําจากขาวที่แตกรวงออนๆ ซึ่งขาวยังไมแข็งเปนเมล็ด คั้น ออกมาเปน
น้ําขาวที่เรียกวา น้ํานมขาว แลวนําไปผสมกวนกับแปงใหจับตัวเปนกอน ไดขนมที่มีลักษณะคลายแปง