Page 68 - Prawet
P. 68

72







                       เกษตรกรรมรวมกันคือ ปลูกขาวสาลีบนที่ผืนเดียวกัน จุลกาลนั้นเห็นวาขาวสาลีที่กําลังทองนั้นมีรส
                       หวานอรอย ก็เลยอยากนําขาวนั้นไปถวายแดพระสงฆ จึงปรึกษากับมหากาลพี่ชาย แตมหากาลไมเห็น
                       ดวย มหากาลจึงแบงที่ดินออกเปน 2 สวน เพื่อใหตางคนตางนําขาวไปใชกิจอันใดก็ได จุลกาลจึงนํา
                       เมล็ดขาวที่กําลังตั้งทองมาผา แลวตมกับน้ํานมสด ใสเนยใส น้ําผึ้ง น้ําตาลทรายกรวด เมื่อเสร็จแลวจึง

                       นําไปถวายแดพระสงฆ เมื่อถวายภัตตาหารเหลานี้แดพระสงฆ จุลกาลไดทูลความปรารถนาของตนกับ
                       พระพุทธเจาวา ขอใหตนบรรลุธรรมวิเศษกอนใคร และเมื่อกลับบานไป ก็พบวานาขาวสาลีของตนนั้น
                       ออกรวงอุดมสมบูรณสวยงาม จนเก็บเกี่ยวไป 9 ครั้งก็ยังอุดมสมบูรณอยูอยางนั้นตลอดไป
                       เปนอาหารที่ทําใหฤดูสารท กระยาสารทนี้เนื่องมาจาก ขาวมธุปายาส ซึ่งเปนอาหารอินเดียใชขาว

                       น้ําตาล น้ํานม ผสมกัน ซึ่งนางสุชาดาหุงถวายพระพุทธเจาสวนผสมของกระยาสารทไทยมีขาวตอก
                       ขาวเมา ถั่วลิสง งาคั่วใหสุกเสียกอน แลวนํามากวนกับน้ําออยกวนใหเหนียวกรอบเกาะกันเปนปก
                       จะทําเปนกรอบเปนกอนหรือตัดเปนชิ้น ๆ เก็บไวไดนานทําจากพืชผลแรกไดกระยาสารทเปนของ
                       หวานจัด โดยมากจะกินกับกลวยไขสุกทําถวายพระเพื่ออุทิศสวนกุศลใหผูที่ลวงลับไปแลว

                       กระยาสารทกําหนดทรงบาตรที่วิเศษ ในการพระราชพิธีสารทนี้ตกทอดกันมานาน
                       คนผูนับถือพระพุทธศาสนาจะพากันหยุดงาน ตระเตรียมสิ่งของทําบุญที่เรียกวา
                       กระยาสารทเปนของหวาน ประจําเทศกาลสารท นิยมทํากันกอนวันสิ้นเดือนเปนวันโกน วันแรม 14

                       ค่ํา เดือน 10  นับตั้งแตนั้นเปนตนมาเมื่อถึงวันแรม 15 ค่ํา เดือน 10 ซึ่งตรงกับเดือนกันยายน
                       ชาวบานจะกวนกระยาสารทมาทําบุญอุทิศสวนกุศลใหแกญาติผูลวงลับไปแลว จนกลายเปนประเพณี
                       สารทไทย หรือเทศกาลกวนขนมกระยาสารทจนถึงทุกวันนี้นั่นเอง ปรากฏคํากลอนในนิราศเดือนสิบ
                       วา


                       ถึงเดือนสิบเห็นกันเมื่อวันสารท  ใสอังคาสโภชนากระยาหาร
                       กระยาสารท กลวยไขใสโตกพาน  พวกชาวบานถวนหนาธารณะ

                       กระยาสารทเปนสัญลักษณของ ผลิตผลทางการเกษตรที่อุดมสมบูรณ รวมทั้งเปนการทําบุญเพื่อเปน

                       สิริมงคลแกขาวในนา ซึ่งเปนการเก็บ พืชผลครั้งแรกอีกดวย
                       กลาวโดยสรุปกระยาสารทเปนสัญลักษณของ ผลิตผลทางการเกษตรที่อุดมสมบูรณ รวมทั้งเปนการ
                       ทําบุญเพื่อเปนสิริมงคลแกขาวในนา ซึ่งเปนการเก็บพืชผลครั้งแรก

                       กกกกกกก3. ลักษณะของกระยาสารทสวนผสมของกระยาสารทไทยมีขาวตอก ขาวเมา ถั่วลิสง งาคั่ว
                       ใหสุกเสียกอน แลวนํามากวนกับน้ําออยกวนใหเหนียวกรอบเกาะกันเปนปก จะทําเปนกรอบเปนกอน
                       หรือตัดเปนชิ้นๆ เก็บไวไดนานทําจากพืชผลแรกไดกระยาสารทเปนของหวานจัด โดยมากจะกินกับ
                       กลวยไขสุกทําถวายพระเพื่ออุทิศสวนกุศลใหผูที่ลวงลับไปแลว ในการพระราชพิธีสารทนี้ตกทอดกันมา
                       นานแลวตามความเชื่อถือ คนผูนับถือพระพุทธศาสนาจะพากันหยุดงาน ตระเตรียมสิ่งของทําบุญที่

                       เรียกวากระยาสารทเปนของหวาน ประจําเทศกาลสารท นิยมทํากันกอนวันสิ้นเดือนเปนวันโกน วัน
                       แรม 14 ค่ํา เดือน 10
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73