Page 15 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 15

  วิธีเอาตัวรอดขณะเกิดแผ่นดินไหว
ความเช่ือเก่าๆที่ให้หลบใต้โต๊ะ ดีหรือไม่?... ทฤษฎี สามเหลี่ยมชีวิต นิมิตใหม่ เพื่อความปลอดภัยในแผ่น ดินไหว
จากบทความของ ดัก คอบบ เรื่อง "สามเหลี่ยมชีวิต" Triangle of Life เรียบเรียงสําาหรับการสรุป ใหค้ ณะกรรมการดา้ นความปลอดภยั MAA
ดัก คอบบ์ เป็นหัวหน้าหน่วยกู้ภัยและผู้จัดการด้าน พิบัติภัยของทีมกู้ภัยนานาชาติแห่งสหรัฐฯ ซึ่งเป็นทีกู้ภัย ที่มีประสบการณ์มากที่สุดในโลก ข้อมูลในบทความน้ีจะ ช่วยชีวิตคนในกรณีแผ่นดินไหว
เขาเคยคลานเข้าไปในตึกท่ีถล่มมาแล้ว 875 ตึก เคยทําางานกับหน่วยกู้ภัยจาก 60 ประเทศ ก่อตั้งหน่วย กภู้ ยั ในหลายประเทศและเปน็ หนง่ึ ในผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการ อพยพผู้คนกรณีเกิดพิบัติภัยขององค์การสหประชาชาติ มา 2 ปี เขาได้ทําางานกับพิบัติภัยใหญ่ๆ ในโลกมาต้ังแต่ ปี 1985-1996
เม่ือปี 1996 เราได้ทําาภาพยนตร์ขึ้นมาเร่ืองหนึ่งซึ่ง ได้พิสูจน์ว่าวิธีการรักษาชีวิตของ ดัก คอบบ์ ถูกต้อง เราได้ถล่มโรงเรียนและบ้านท่ีมีหุ่นมนุษย์ 20 ตัว อยู่ ภายในหุ่น 10 ตัว "มุดและหาท่ี
กําาบัง" และอีก 10 ตัว ใช้วิธีการ
รักษาชีวิตแบบ "สามเหลี่ยมชีวิต"
ของผม หลังจากทําาแผ่นดินไหว
จําาลอง เราคลานผ่านซากปรักหัก
พังและเข้าไปในตึก เพ่ือถ่ายภาพและเก็บข้อมูลของผล ที่เกิดข้ึนใน ภาพยนตร์แสดงให้เห็นว่าอัตราการอยู่รอด ของพวกที่มุดและหาที่กําาบังคือ “ตาย” และโอกาสรอด เกือบ 100% คือพวกที่ใช้วิธี "สามเหลี่ยมชีวิต"
ดัก คอบบ์ กล่าวว่า “ตึกแห่งแรกท่ีผมได้คลาน เข้าไปคือโรงเรียนแห่งหน่ึงในเมืองเม็กซิโกซิตี้ เกิดแผ่น ดินไหวในปี 1985 เด็กทุกคนที่อยู่ใต้โต๊ะเรียน ถูกอัด แบนจนกระดูกแหลก พวกเขาอาจจะมีชีวิตรอดอยู่บ้าง ถ้านอนราบกับพื้นตรงบริเวณทางเดินข้างๆ โต๊ะเรียน ของตัวเอง ซึ่งในเวลานั้น เด็กๆ ได้รับคําาแนะนําาให้ หลบใต้อะไรบางอย่าง อธิบายอย่างง่ายๆ คือ เมื่อตึก ถล่ม นํา้าหนักของเพดานที่ตกลงมาบนสิ่งของหรือเครื่อง เรือนท่ีอยู่เบ้ืองล่าง จะทับทําาลายส่ิงของเหล่าน้ัน เหลือ ที่ว่างหรือช่องว่างข้างๆ คือส่ิงท่ีผมเรียกว่า "สามเหลี่ยม ชีวิต" สิ่งของช้ินยิ่งใหญ่ยิ่งแข็งแรง (เช่น ตู้เย็น ตู้เซฟ ใหญ่ๆ) โอกาสที่ส่ิงของถูกทับอัดยิ่งน้อย ช่องว่างก็จะ ยิ่งใหญ่ข้ึน โอกาสที่คนหลบภัยอยู่ในช่องว่างเหล่าน้ันจะ ไม่เป็นอันตรายก็ยิ่งมาก”
10 วิธีเพื่อความปลอดภัยยามแผ่นดินไหว ในแบบของผู้เช่ียวชาญ (ดัก คอบบ์)
1. ควรหลบภยั ในสามเหลย่ี ม ชีวิต...คนส่วนมากท่"ีมุดและหาท กําาบัง" โดยเข้าไปอยู่ใต้สิ่งของ เม่ืออาคารถล่มจะถูกทับอัดจน ตาย อาทิ โต๊ะ หรือรถยนต์ เป็นต้น
16
2. แมว หมา และเด็กทารก โดยธรรมชาติมักจะ ขดตัวในท่าเหมือนอยู่ในครรภ์มารดา คุณควรทําาเช่นกัน ในกรณีแผ่นดินไหวหรือตึกถล่ม มันเป็นสัญชาติญาณ เพื่อรักษาชีวิต อยู่ข้างๆ ส่ิงของหนักๆ ช้ินใหญ่ๆ ท่ีจะบี้ แบนไปบา้ ง แตย่ งั เหลอื ทว่ี า่ งขา้ งๆ ใหช้ วี ติ เราพอหลบอยไู่ ด้
3.อาคารไม้เป็นส่งิก่อสร้างท่ปีลอดภัยท่สีุดท่จีะอยู่ ภายใตซ้ ากปรกั หกั พงั ขณะแผน่ ดนิ ไหว ไมม้ คี วามยดื หยนุ่ และเคลอ่ื นตวั ตามแรงของแผน่ ดนิ ไหว ถา้ อาคารไมถ้ ลม่ จะเกิดช่องว่างขนาดใหญ่ ซึ่งพอจะมีช่องว่างท่ีแข็งแรง พอปกปอ้ งรา่ งกายผตู้ ดิ คา้ งได้ และอาคารไมย้ งั มนี า้ํา หนกั กดทับท่ีเป็นอันตรายน้อยกว่าอาคาร อิฐซึ่งจะแตกพัง เป็นก้อนอิฐมากมาย ก้อนอิฐเหล่าน้ี เป็นสาเหตุหน่ึงของ การบาดเจ็บแต่จะทับอัดร่างกายน้อยกว่า แผ่นคอนกรีต
4. ตอนกลางคนื ถา้ เกดิ แผน่ ดนิ ไหว เพยี งกลง้ิ ลงจาก เตียง ช่องว่างรอบๆ เตียงจะเกิดเป็นสามเหล่ียมชีวิต โรงแรม โรงพยาบาล จะสามารถเพิ่มอัตราผู้รอดชีวิต จากแผ่นดินไหวได้โดยเพียงติดป้ายหลังประตูในทุก ห้องพัก บอกให้ผู้เข้าพักนอนราบกับพ้ืนข้างๆ ขาเตียง ระหว่างแผ่นดินไหว
5. หากมีแผ่นดินไหวเกิดข้ึนและคุณไม่สามารถหนี ออกมาง่ายๆ ทางประตูหรือหน้าต่าง ก็ให้นอนราบและ ขดตัวในท่าทารกในครรภ์ข้างๆ เก้าอี้โซฟาหรือเก้าอี้ตัว ใหญ่ๆ
6. เกือบทุกคนท่ีอยู่ตรงช่องประตูตอนตึกถล่ม ไม่รอด เพราะอะไร? หากคุณยืนอยู่ตรงช่องประตู และวงกบประตูล้มไปข้างหน้าหรือข้างหลัง คุณจะโดน เพดานด้านบนตกลงมาทับ หากวงกบประตูล้มออกด้าน ข้าง คุณจะถูกตัดเป็นสองท่อนโดยช่องประตู ไม่ว่ากรณี ไหน คุณไม่รอดท้ังนั้น!
7. อยา่ ใชบ้ นั ไดเดด็ ขาด "ชว่ งการเคลอ่ื นตวั " (บนั ได จะมีการแกว่งแยกจากตัวอาคาร) บันไดและส่วนท่ีเหลือ ของตัวอาคารจะชนกระแทกกันอย่างต่อเน่ืองจนเกิด ปัญหากับโครงสร้างของบันได คนท่ีอยู่บนบันไดก่อนท่ีบันได จะถล่มถูกตัดเป็นชิ้นโดยขั้น บันได...ถูกแยกส่วนอย่างน่า สยดสยองถึงอาคารจะไม่ถล่มก
ควรอยู่ห่างบันไดไว้ บันไดเป็นส่วนของอาคารที่มีโอกาส ถูกทําาให้เสียหายถึงแม้แผ่นดินไหวจะไม่ได้ ทําาให้บันได ถล่ม มันอาจถล่มในเวลาต่อมาเมื่อรับน้ําาหนักมากเกิน ไปจากคนที่กําาลังหนี มันควรได้รับการตรวจสอบความ ปลอดภัยเสมอ ถึงแม้ส่วนที่เหลือของอาคารจะไม่ได้รับ ความเสียหายก็ตาม
8. ออกจากอาคารถา้ เปน็ ไปได้ (หลงั จากเมนชอ็ ค) จะเป็นการดีกว่ามากที่จะอยู่ใกล้ส่วนนอกของอาคาร มากกว่าจะอยู่ท่ีส่วนในของอาคาร คุณยิ่งอยู่ลึกเข้าไป หรือไกลจากบริเวณภายนอกของอาคารมากเท่าไหร่ โอกาสที่ทางหนีรอดออกมาได้ ก็จะมีน้อยลงเท่านั้น
9. จากเหตุแผ่นดินไหวที่ซานฟรานซิสโก พบว่าผู้ ท่ีอยู่ในรถยนต์บนถนนหลวงนิมิทซ์ท่ีถล่มลงมาเสียชีวิต คาซากรถอย่างน่าสังเวชท้ังหมด..พวกเขาเหล่านั้น อาจ จะรอดชีวิตได้ ถ้าได้เรียนรู้เร่ืองสามเหล่ียมชีวิต ด้วย การออกจากรถ แล้วนั่งคู้ตัว หรือนอนราบอยู่ข้างๆ
รถของตัวเอง เพราะแม้เสาหรือแผ่นคอนกรีตจะหล่นมา ทับรถทั้งคัน บริเวณข้างรถก็ยังคงมีช่องว่างเหลืออยู่ เพื่อช่วยชีวิตได้บ้าง
10.ผม (ดัก คอบบ์) ค้นพบขณะท่ีคลานเข้าไปใน ซากสําานักงานหนังสือพิมพ์และสําานักงานอ่ืนที่มีกระดาษ จําานวนมากว่า เมื่ออาคารถล่มลงมา จะพบช่องว่าง ขนาดใหญ่รอบๆ กองกระดาษที่เรียงทับซ้อนกัน ซึ่งเช่ือ ว่าน่าจะเป็นจุดปลอดภัยที่ซุกตัวหลบเพ่ือเอาชีวิตรอดได้ และนี่คือส่ิงยืนยันทฤษฎีสามเหลี่ยมชีวิต นิมิตใหม่เพื่อ ความปลอดภัยในแผ่นดินไหว  
ที่มา: http://www.lcct.in.th/thread-132-1-1.html
  ์
   ็
   ี่
ผู้เรียบเรียง
การเตรียมความพร้อมเมื่อเกิดแผ่นดินไหว จากสําานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กทม.
1. ให้ หมอบ ลงกับพื้น
2. หลีกเลี่ยงบริเวณใกล้หน้าต่าง หรือที่ที่มีอะไร
แขวนไว้ตามฝาผนัง และหลบใต้โต๊ะหรือมุมห้อง
3. ป้องตนเองโดยใช้แขนปกป้องศีรษะและคอรอจน ความสั่นไหวยุติลง หรือปลอดภัยแล้วจึงออกไปสู่
จุดที่ปลอดภัย
4. ตั้งสติและอย่าให้คนในครอบครัวตื่นตระหนก
5. อยู่ห่างจากบริเวณที่มีวัตถุหล่นใส่ ถ้าอยู่ในที่โล่ง
แจ้งให้อยู่ห่างจากป้ายโฆษณา เสาไฟ อาคาร และ
ต้นไม้ใหญ่
6. ระวังเศษอิฐ กระจกแตก และชิ้นส่วนอาคารหล่นใส่
สําาหรับผู้ที่อยู่ในอาคารสูง
1. ถ้าอาคารมั่นคงแข็งแรง ให้อยู่ในอาคารนั้น
2. ถ้าอาคารเก่าและไม่มั่นคง ให้รีบออกจากอาคารนั้น
ให้เร็วท่ีสุด
3. หลังการสั่นสะเทือนส้ินสุด ให้รีบออกจากอาคาร
4. ถ้าไม่อยู่ใกล้ทางออก ให้ หมอบ ป้อง เกาะ จนกว่า
จะมีผู้เข้าไปช่วยเหลือ
5. ถ้าอยู่ใกล้ทางออก ให้ออกจากอาคารโดยเร็ว อย่า
แย่งกันจนเกิดความชุลมน
6. ห้ามใช้ลิฟท์โดยเด็ดขาด
หลังจากเกิดแผ่นดินไหว
1. ปฐมพยาบาลขั้นต้นผู้ได้รับบาดเจ็บก่อน
2. รีบออกจากอาคารที่เสียหายทันที
3. ใส่รองเท้าหุ้มส้นเสมอ ป้องกันเศษแก้ว วัสดุแหลม
คม และส่ิงหักพังแทง
4. ตรวจสายไฟ ท่อนํา้า ท่อแก๊ส ถ้าแก๊สร่ัวให้ปิดวาวล์
ถังแก๊ส ยกสะพานไฟ อย่าจุดไม้ขีดไฟ หรือก่อไฟ
5. ตรวจสอบแก๊สรั่วด้วยการดมกล่ินเท่านั้น ถ้าได้กล่ิน
แก๊สให้รีบเปิดประตูหน้าต่างทุกบาน
6. ออกจากบริเวณที่สายไฟขาด หรือสายไฟพาดถึง
7. เปิดวิทยุฟังคําาแนะนําาฉุกเฉิน ใช้โทรศัพท์เม่ือจําาเป็น
จริงๆ
8. สาํา รวจความเสยี หายของทอ่ สว้ ม และทอ่ นา้ํา ทง้ิ กอ่ นใช้
9. อยา่ เปน็ ไทยมงุ เขา้ ไปในเขตทเ่ี สยี หาย หรอื ปรกั หกั พงั
10. อย่าแพร่ข่าวลือ
      อ.คณาทัต จันทร์ศิริ
สมาคมการดับเพลิงและช่วยชีวิต FARA และสมาพันธ์การช่วยชีวิต ดับเพลิงและ กู้ภัยแห่งเอเซีย
ISSUE1.VOLUME21.MAY-JULY2014
                          ษ
ส
ศ
เ
ิ
พ
ก
ู๊
ป






















   13   14   15   16   17