Page 14 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 14

     ศ.ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน วิศวกรรมแผ่นดินไหวและ การสั่นสะเทือน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
   น.ส.สุภาพร โพธิ์แก้ว อาจารย์คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ควันหลงจากการสัมมนาวิชาการ “การบริหารจัดการสาธารณะในภาวะวิกฤตจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ” เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2555 เวลา 9:00 น. ที่ห้องประชุม 201 อาคารวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
   ศ.ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ ทางด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหวและการสั่นสะเทือน คณะ วศิ วกรรมศาสตร์ จฬุ าฯ กลา่ วระหวา่ งการสมั มนาวชิ าการ “การบริหารจัดการสาธารณะในภาวะวิกฤตจากภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ” ว่า ภัยธรรมชาตินําามาซึ่งความสูญเสีย แตข่ ณะเดยี วกนั กน็ าํา มาซง่ึ บทเรยี นอนั ลา้ํา คา่ กอ่ ใหเ้ กดิ การ วจิ ยั และเรยี นรกู้ ารแกป้ ญั หาในอนาคต ซง่ึ การจะแกป้ ญั หา ไดน้น้ั จะตอ้งรตู้น้ตอของภยัธรรมชาตเิสยีกอ่นโดยสาเหตุ สําาคัญน้ัน ส่วนหนึ่งมาจากมนุษย์ อาทิ เหตุการณ์แผ่น ดินไหว ในประเทศไทยท่ีเกิดขึ้นถ่ีกว่าในอดีต เป็นเพราะ มีการขยายตัวเมืองเข้าไปใกล้รอยเลื่อนมากข้ึน การ ทําาลายทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะรถยนต์ที่ก่อให้ เกิดก๊าซเรือนกระจก สูญเสียพลังงานมากข้ึน การปล่อย น้ําาเสียของโรงงานอุตสาหกรรม และบ้านเรือนลงสู่แม่นํา้า รวมไปถึงการบุกรุกแม่น้ําาและชายหาด โดยการก่อสร้าง ขวางทางน้ําา เป็นต้น
ศ.ปณิธาน กล่าวอีกว่า ส่วนสิ่งที่น่ากังวล คือ การ เปล่ียนแปลงของโลกที่เราไม่ทราบจนอาจนําามาซึ่งภัย พิบัติ อย่างกรณีภูเขาไฟระเบิดใต้ธารน้ําาแข็งเมื่อปีท่ีผ่าน มานน้ั นกั วทิ ยาศาสตรโ์ ลกไมไ่ ดม้ กี ารออกมาเตอื นใดๆ ทง้ั ส้ิน ดังนั้น การที่ออกมาระบุว่าระดับน้ําาทะเลจะเพิ่มขึ้น สูงปีละเท่าใดๆ นั้น ถือว่าผิดทั้งหมด เนื่องจากไม่มีการ คําานึงถึงเหตุการณ์ภูเขาไฟระเบิดใต้ธารนํา้าแข็งมาก่อน
ศ.ปณิธาน กล่าวต่อไปว่า “สําาหรับการรับมือภัยพิบัติ ทางธรรมชาตนิ น้ั ตอ้ งอาศยั กรอบการดาํา เนนิ งานเฮยี วโงะ (Hyogo) ซ่ึงเกิดขึ้นจากการประชุมการจัดการภัยพิบัติ เมอ่ื ปี 2548 ภายหลงั ครบรอบ 10 ปี การเกดิ เหตแุ ผน่ ดนิ ไหว ครั้งใหญ่เมื่อ 17 ม.ค.2538 ท่ีเมืองโกเบ จังหวัดเฮียวโงะ ประเทศญ่ีปุ่น จนเกิดความสูญเสียเป็นจําานวนมาก ซึ่ง กรอบการดําาเนินงานเฮียวโงะนั้น จะเน้นในเรื่องของการ ปฏิบัติและการป้องกัน โดยต้องมีการเสริมสร้างความ แข็งแรงของโครงสร้างอาคารต่างๆ ทั้งบ้าน อาคาร โครงสร้างพ้ืนฐาน อาคารสาธารณะที่สําาคัญ อาทิ โรง พยาบาล โรงเรียน เป็นต้น เพ่ือให้รองรับการเกิด เหตกุ ารณแ์ ผน่ ดนิ ไหวได้ การสรา้ งอาคารใหมจ่ ะตอ้ งถกู ตอ้ ง ตามหลักการรองรับแผ่นดินไหวด้วยเช่นกัน นอกจากน้ี จะต้องมีการเสริมสมรรถภาพขีดความสามารถทรัพยากร มนษุ ย์ และรฐั บาลจะตอ้ งมนี โยบายทถ่ี กู ตอ้ งในการรบั มอื กับภัยพิบัติ ซึ่งถือเป็นเรื่องที่สําาคัญมาก”
“ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเลย คือ ประเทศเฮติ ท่ีรัฐบาล ไม่ได้ให้ความสําาคัญกับการรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาติ ทั้งที่มีการเกิดเหตุแผ่นดินไหวบ่อยครั้ง จนเม่ือประมาณ ปี 2553 ได้เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 7 ริกเตอร์ข้ึน
แมแ้ ตท่ าํา เนยี บประธานาธบิ ดยี งั พงั ทลาย ตกึ บญั ชาการตา่ งๆ ก็พัง ทําาให้เกิดความโกลาหลขึ้นในประเทศ ซ่ึงตรงนี้ยูเอ็น ได้มีการณรงค์ One Million Safe โดยโรงพยาบาลต้อง ปลอดภัยจากภัยพิบัติ มีระบบสนับสนุนต่างๆ อาทิ ไฟฟ้า ฉุกเฉิน และบุคลากรต้องได้รับการฝึกฝน สามารถจัดการ กับภาวะฉุกเฉินได้ เป็นต้น”
ศ.ปณิธาน กล่าวด้วยว่า หลักการสําาคัญ อีกประการ ในการจัดการและรับมือกับภัยพิบัติน้ัน คือ ระบบรับมือ “Resilience” ซึ่งเป็นความสามารถของระบบชุมชนหรือ สงั คม ทเ่ี ผชญิ ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตแิ ลว้ สามารถตา้ นทานได้ มีการฟื้นตัวจากผลกระทบได้ในเวลาท่ีเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังต้องอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้ กลับคืนสู่สภาพเดิมด้วย ส่วนมาตรการบรรเทาภัยพิบัติน้ัน ที่สําาคัญมีอยู่ 5 มาตรการด้วยกันคือ
1. การเตรยี มพรอ้ มดา้ นอาคารและโครงสรา้ งพน้ื ฐาน 2. การเตรียมพร้อมระบบเพื่อการบรรเทาภัย เช่น
ระบบคมนาคมฉุกเฉิน
3. มาตรการด้านกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย 4. มาตรการดา้ น Capacity Building และนวตั กรรม
การแก้ปัญหา
5. มาตรการด้านEmergencyResponse
ศ.ปณธิ าน กลา่ ววา่ ในเรอ่ื งการเตรยี มพรอ้ มดา้ นอาคาร
และโครงสรา้ งพน้ื ฐานนน้ั สาํา หรบั ในประเทศไทยมกี ารออก กฎหมายใหม้ กี ารออกแบบอาคารใหส้ ามารถรองรบั การเกดิ แผน่ ดนิ ไหวขน้ึ เมอ่ื ปี 2550 แมก้ อ่ นหนา้ จะไมม่ กี ารออกแบบ ให้รองรับการเกิดแผ่นดินไหว แต่เช่ือว่าสามารถรองรับได้ ในระดับหน่ึง โดยต้องมีการพิจารณาเสริมความแข็งแรง ของอาคารท่ีไม่ปลอดภัยเหล่านั้นให้ ปลอดภัย
“ใน กทม. มีอาคารประมาณ 2 ล้านหลัง ที่ไม่ ปลอดภัยต่อการเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว ในจําานวนน้ีมี ประมาณ 1 ลา้ นหลงั ท่ไี มส่ ามารถรองรบั การเกดิ แผน่ ดนิ ไหว ได้เลย ดังน้ัน จําานวนอาคารที่มีมากเหล่านี้จําาเป็นที่จะต้อง เลอื กปรบั ปรงุ เสรมิ ความแขง็ แรง โดยเลอื กอาคารสาธารณะ ที่สําาคัญ อาคารโครงสร้างพื้นฐาน ทางด่วน สะพาน โรงไฟฟ้า ประปา สถานีดับเพลิง หรือโรงพยาบาลก่อน เพราะขณะนท้ี ราบจากสาํา นกั ธรณวี ทิ ยาวา่ มรี อยเลอ่ื นมพี ลงั เข้าใกล้ กทม.มากขึ้น โดยอยู่ท่ี จ.นครนายก แต่จะมีความ รนุ แรงเทา่ ไรนน้ั ไมส่ ามารถคาดการณ์ได”้ ศ.ปณธิ าน กลา่ ว
ศ.ปณิธาน กล่าวเพ่ิมอีกว่า ภัยธรรมชาติเป็นเรื่องไม่ แนน่ อน เนอ่ื งจากมตี วั แปรมากมาย สง่ิ สาํา คญั คอื การเตรยี ม พร้อมด้านการบรรเทาภัย อย่างกรณีน้ําาท่วม รัฐบาลใช้ เงินจําานวนมากในการศึกษาน้ําาท่วมเป็นเวลาไม่ตํา่ากว่า 20 ปี มีการเสนอมาตรการสําาคัญในการแก้ปัญหา หนึ่งในน้ัน คือการขุดคลองทําาแม่นํา้าเจ้าพระยา 2 เน่ืองจากระบบระ บายน้ําาธรรมชาติไม่สามารถรับน้ําาขณะเกิดพายุมากๆ ได้ ต้องมีระบบระบายนํา้าเพ่ิมเติม แต่สุดท้ายไม่ได้ทําา และทําา ในทิศทางตรงกันข้ามคือ การถมคูคลองต่างๆ ไปจนหมด ซึ่งการจะมาแก้ไขด้วยงบประมาณกว่า 3 แสนล้านบาทไม่ แน่ใจว่าจะสามารถทําาได้
“เลิกฝันได้เลยกับการสร้างแม่นํา้าเจ้าพระยา 2 มัน
เป็นไปไม่ได้ เพราะต้องมีการเวนคืนท่ีดินมาก ทําาอย่างไร ระบบระบายน้ําาก็ไม่พอ เพราะคูคลองต่างๆ ถูกถมไปนาน แล้ว ผมเคยเสนอวิธีการแก้ปัญหา แต่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญ ด้านนํา้า จึงไม่มีใครฟัง ในฐานะท่ีผมเป็นวิศวกรโครงสร้าง จึงนึกถึงการแก้ปัญหาด้วยการนําาโครงสร้างทางด่วนที่ มีลักษณะเป็นกล่องอย่างช่วง บางนา-บางปะกง เอามา วางให้ตํา่ากว่าระดับพ้ืนดิน เพื่อใช้ระบายน้ําาส่วนด้านบน ก็ถมดิน ชาวนาก็สามารถทําาไร่ทําานาต่อไปได้โดยไม่ต้อง เวนคืนที่ดิน เท่ากับว่าเรามีคลองระบายอยู่ข้างล่าง ขนาด ไม่ต้องใหญ่แต่ทําาเป็นร่างแหอยู่ข้างล่างไปทั่วประเทศได้” ผู้เช่ียวชาญเฉพาะทางด้านวิศวกรรมฯ กล่าว  
น.ส.สภุ าพร โพธแ์ิ กว้ อาจารยค์ ณะนเิ ทศศาสตร์ จฬุ าฯ กล่าวว่า การส่ือสารสาธารณะในช่วงของการเกิดภัยพิบัติ นน้ั รฐั บาลตอ้ งมกี ารตง้ั ศนู ยส์ ารนเิ ทศ ท่ีไม่ใชร่ อเพยี งการ แถลงข่าวอย่างเดียว แต่ต้องเป็นศูนย์ที่พร้อมให้ข้อมูล ตลอดเวลา เมื่อผู้ส่ือข่าวมีข้อสงสัยสามารถถามแล้วได้ คําาตอบที่ต้องการ แต่จาก เหตุการณ์นํา้าท่วมเม่ือปี 2554 รัฐบาลรอการแถลงข่าวเพียงอย่างเดียว มองสื่อไว้เพียง รองรบั การแถลงขา่ วเทา่ นน้ั สง่ิ ทร่ี ฐั บาลควรทาํา คอื การตง้ั ทมี มอนิเตอร์สื่อ ประเมินสถานการณ์แต่ละวันว่า ประชาชน กําาลังเสพข้อมูลอะไร สาธารณชนกําาลังสับสนในข้อมูล เร่ืองอะไรหรือไม่ หรือมีข่าวลืออะไรเกิดข้ึน เพ่ือท่ีจะ สามารถชี้แจงให้ประชาชนเข้าใจได้
น.ส.สุภาพร กล่าวอีกว่า ในส่วนของสื่อมวลชนนั้น อยากฝากให้คําานึงถึงความเปราะบางทางจิตใจของผู้ที่ได้ รับผลกระทบให้มาก เนื่องจากเขาเป็นผู้สูญเสียไม่ควร ไปตอกย้ําาคั้นถามเพื่อให้ข่าวดูสะเทือนอารมณ์ย่ิงขึ้น เช่น การพยายามซักหาลูกหลานที่หายไปกับสึนามิเจอหรือยัง เป็นต้น ไม่ควรกระทําา เพราะการออกข่าวให้เห็นนํา้าตา หรือความฟูมฟายไม่ใช่เร่ืองที่ดี อยากให้ใส่หัวใจและมอง ในมิตินี้ด้วย จึงจะไม่เป็นการเพ่ิมผลกระทบโดยไม่รู้ตัว
น.ส.สุภาพร กล่าวต่อไปว่า นอกจากนี้ เร่ืองของการ รายงานข่าวภัยพิบัตินั้น ในช่วงก่อนเกิดภัยพิบัติไม่จําาเป็น ที่จะต้องประกาศให้ดูเป็นภาวะวิกฤติไปก่อน เพราะจะ ทําาให้เกิดความรู้สึกแฝงอยู่ในสังคม แต่ควรรายงานให้ สังคมรับรู้ความเส่ียง มากกว่ารู้สึกถึงความวิกฤติ ขณะ ที่ช่วงหลังเกิดภัยพิบัติไปแล้ว เน่ืองจากข่าวไม่มีความสด หรืออาจเกิดปรากฏการณ์ใหม่ข้ึนมาแทน ทําาให้ไม่มีการ รายงานข่าวหลังภัยพิบัติมากนัก แต่การรายงานข่าวหลัง ภัยพิบัติถือเป็นส่วนสําาคัญ เช่น เวทีถอดบทเรียนนํา้าท่วม เป็นต้น ท่ีจะผลักดันให้เกิดการพัฒนาและนําาไปสู่การแก้ ปัญหามากขึ้น  
 ISSUE1.VOLUME21.MAY-JULY2014
15
                          ษ
ส
ศ
เ
ิ
พ
ก
ู๊
ป



































































   12   13   14   15   16