Page 12 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 12

 ความรู้เรื่องแผ่นดินไหว
แผน่ ดนิ ไหว เปน็ ปรากฎการณท์ างธรรมชาติ ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย ร้ายแรงต่อชีวิต และทรัพย์สินของมนุษย์ได้เป็นบริเวณกว้าง เชื่อกันว่า ทุกประเทศได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ปัจจุบันพบว่ามีความพยายามอย่างมากในหลายประเทศ ซึ่งได้รับ อันตรายจากแผ่นดินไหว ศึกษา และทําาความเข้าใจถึงกลไกของการเกิด แผ่นดินไหว เพื่อการพยากรณ์แผ่นดินไหว และทําานายเหตุการณ์ว่า จะ เกดิ ขน้ึ เมอ่ื ใด? ท่ีไหน? ขนาดเทา่ ใด? แตย่ งั ไมป่ ระสบความสาํา เรจ็ ดงั นน้ั ขณะนี้จึงยังไม่มีผู้ใดสามารถพยากรณ์แผ่นดินไหวได้อย่างถูกต้อง โดย ทั่วไปสิ่งจําาเป็นอย่างยิ่งสําาหรับการเผชิญภัยแผ่นดินไหว คือการเตรียม พร้อมที่ดี แต่ละประเทศควรมีมาตรการในการป้องกัน และบรรเทาภัย แผ่นดินไหวทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เช่น การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ ธรรมชาติของแหล่งกําาเนิดแผ่นดินไหว รอยเลื่อนต่างๆ ให้ความรู้ และ ข้อควรปฏิบัติเมื่อเกิดแผ่นดินไหวต่อประชาชน ให้มีการแบ่งเขตแผ่นดิน ไหวตามความเหมาะสมของความเสี่ยงภัย ออกกฎหมายให้อาคารสิ่ง ก่อสร้างต่างๆ สามารถรับแรงแผ่นดินไหวตามความเหมาะสมของแต่ละ พนื้ ทเ่ี สย่ี งภยั มกี ารวางแผนการจดั การทดี่ หี ากเกดิ ความเสยี หายรา้ ยแรง หลงั การเกดิ แผน่ ดนิ ไหว เปน็ ตน้ ในกรณขี องประเทศไทย แมว้ า่ ตาํา แหนง่ ที่ตั้งทางภูมิประเทศ จะอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวตํา่า แต่เพ่ือความ ไม่ประมาท กรมอุตุนิยมวิทยา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ดําาเนิน กิจกรรมต่างๆ เพ่ือเสริมมาตรการข้างต้นโดยมีภารกิจในการตรวจวัด แผ่นดินไหวตลอด 24 ชั่วโมง แลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างประเทศเป็น ประจําา ตลอดจนวางแผนจัดต้ังโครงการลดภัยพิบัติจากแผ่นดินไหว ซึ่ง อาจเป็นอันตรายต่อสาธารณชนได้
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวโดยฉับพลันของเปลือกโลก ส่วนใหญ่ แผ่นดินไหวมักเกิดตรงบริเวณขอบ ของแผ่นเปลือกโลกเป็น แนวแผ่นดินไหวของโลก การเคล่ือนตัวดังกล่าว เกิดขึ้นเน่ืองจากชั้นหิน หลอมละลาย ท่ีอยู่ภายใต้เปลือกโลก ได้รับพลังงานความร้อนจากแกน โลก และลอยตัวผลักดันให้เปลือกโลกตอนบนตลอดเวลา ทําาให้เปลือก โลกแต่ละช้ินมีการเคล่ือนท่ีในทิศทางต่างๆ กันพร้อมกับสะสมพลังงาน ไว้ภายใน บริเวณขอบของชิ้นเปลือกโลกจึงเป็นส่วนท่ีชนกันเสียดสีกัน หรือแยกจากกัน หากบริเวณขอบของชิ้นเปลือกโลกใดๆ ไม่ผ่านหรือ อยู่ใกล้กับประเทศใดประเทศน้ัน ก็จะมีความเส่ียงต่อภัยแผ่นดินไหวสูง เช่น ญ่ีปุ่น ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย นิวซีแลนด์ เป็นต้น นอกจากน้ันพลังที่ สะสมในเปลือกโลก ถูกส่งผ่านไปยังเปลือกโลกพ้ืนของทวีป ตรงบริเวณ รอยร้าวของหินใต้พื้นโลกหรือที่เรียกว่า “รอยเล่ือน” เม่ือระนาบรอย ร้าวที่ประกบกันอยู่ได้รับแรงอัดมากๆ ก็จะทําาให้รอยเล่ือนมีการเคล่ือน ตัวอย่างฉับพลันเกิดเป็น แผ่นดินไหวเช่นเดียวกัน
แผ่นดินไหวภาคเหนือท่ีเกิดขึ้น เมื่อเย็นวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 เกิดจากรอยเลื่อนพะเยา แต่ยังต้องเฝ้าระวังรอยเลื่อยอ่ืนๆ ที่มีโอกาส ขยับตามได้ด้วยเช่นกัน ลองมาดูกันว่า ในประเทศไทยมีรอยเลื่อนอะไร
ISSUE1.VOLUME21.MAY-JULY2014
 จุดท่ีมีรอยเลื่อนตามจังหวัดต่างๆ ในประเทศไทย
ท่ีต้องเฝ้าระวังอีกบ้าง
เหตกุ ารณแ์ ผน่ ดนิ ไหว ขนาด 6.3 แมกนจิ ดู (อา้ งองิ จากกรมอตุ นุ ยิ ม
วิทยา) ที่เกิดข้ึนในภาคเหนือเมื่อช่วงเย็นวันท่ี 5 พฤษภาคม 2557 สร้าง ความตน่ื ตระหนกใหค้ นไทยอกี ครง้ั เพราะแผน่ ดนิ ไหวครง้ั นถ้ี อื วา่ มขี นาด ความรุนแรงมากท่ีสุดในรอบหลายสิบปีที่ประเทศไทยเคยประสบมา และคาดว่าจะสร้างความเสียหายต่อทรัพย์สินเป็นจําานวนไม่น้อย ทั้งนี้ จากการตรวจสอบพบวา่ จดุ ศนู ยก์ ลางแผน่ ดนิ ไหวครง้ั นม้ี าจากรอยเลอ่ื น พะเยา ท่ีพาดผ่านอําาเภองาว จังหวัดลําาปาง และอําาเภอเมือง จังหวัด พะเยา ในแนวทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ ทางด้านทิศ เหนือของรอยเลื่อนท่าสี มีความยาวประมาณ 23 กิโลเมตร
อยา่ งไรกต็ าม ในประเทศไทยไมไ่ ดม้ เี พยี งแคร่ อยเลอ่ื นพะเยาเทา่ นน้ั เพราะแหล่งกําาเนิดของแผ่นดินไหวน้ันมาจากรอยเลื่อนที่มีพลัง ซึ่งเม่ือ รอยเลื่อนใดรอยเลื่อนหนึ่งขยับ ก็มีโอกาสที่รอยเลื่อนอื่นๆ จะขยับตาม และทําาให้เกิดแผ่นดินไหวในจุดอ่ืนๆ ตามมาได้อีกเช่นกัน ซึ่งรอยเลื่อนมี พลังในประเทศไทย เคยเกิดขึ้นแล้ว 9 แห่งด้วยกัน และจากการรายงาน ของกรมทรัพยากรธรณีวิทยา พบว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีรอยเล่ือนท่ี มีพลังทั้งหมด 14 รอยเลื่อน โดยกระจายอยู่ใน 22 จังหวัด
      13
                          ษ
ส
ศ
เ
ิ
พ
ก
ู๊
ป

















































































   10   11   12   13   14