Page 22 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 22

  การจัดการ ขอแบ่งเป็นกลุ่มอุปกรณ์ ออกเป็น 7 กลุ่ม ดังน้ี
1. อุปกรณ์เตือนภัย
1.1 เคร่ืองตรวจจับควัน (Smoke Detectors)
1.2 เคร่ืองตรวจจับความร้อน (Heat Detectors)
1.3 สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม (Fire Alarm)
1.4 แผงควบคุมอุปกรณ์เตือนภัย
(Fire Control Panel) ซึ่งต้องมีทีมดับเพลิงคอยปฏิบัติการ
2. อุปกรณ์สําารองฉุกเฉิน
2.1 อุปกรณ์ส่องสว่างฉุกเฉิน (Emergency Light)
(Fire Hose Reels)
• สายฉีดนํา้าดับเพลิงแบบพับแขวน
(Fire Hose Racks)
• ม้วนสายส่งนํา้าดับเพลิง แบบมีข้อต่อ
สวมเร็ว (Quick Coupling) Fire
Delivery Hose พร้อมหัวฉีด (Nozzle) • สายสูบนํา้าดับเพลิง (Suction Hose) • เครื่องดับเพลิงชนิดมือถือ (Portable
Fire Extinguisher) ซึ่งต้องติดตั้งให้ถูก ต้องตามวัตถุประสงค์ของการใช้ คือ ◗ ถูกต้องตามประเภทเชื้อเพลิง
เชน่ ไมใ่ ชเ้ ครอ่ื งดบั เพลงิ ชนดิ นาํา้ ในการดบั นาํา้ มนั หรือไฟฟ้า
◗ ถูกต้องตามพื้นที่หรือบริเวณ เช่น ไม่ใช้เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้งในห้อง
มาตรา 16 ให้นายจ้างจัดให้ผู้บริหาร หัวหน้า งานและลกูจา้งทกุคนไดร้บัการฝกึอบรมความ ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมใน การทําางาน เพ่ือให้บริหารจัดการ และดําาเนิน การดา้ นความปลอดภยั ...ฯ ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั ...ฯ ซึ่งมีรายละเอียดเพ่ิมเติมในกฎกระทรวง โดย สรุปว่า
(ขอ้ 4) ในสถานประกอบกจิ การทม่ี ลี กู จา้ ง ตง้ั แตส่ บิ คนขน้ึ ไป ตอ้ งมแี ผนปอ้ งกนั และระงบั อัคคีภัย ประกอบด้วยการตรวจตรา การอบรม การรณรงค์ป้องกันอัคคีภัย การดับเพลิง การ อพยพหนีไฟ และการบรรเทาทุกข์
(ข้อ 27)จําานวนผู้เข้าอบรมไม่น้อยกว่าร้อย ละ 40 ของจําานวนลูกจ้าง
(ข้อ 29-30)และต้องฝึกซ้อมดับเพลิงและ
 2.2 เครื่องสําารองไฟฟ้าฉุกเฉิน (UPS) หรือเคร่ืองกําาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน (Emergency Generator)
3. อุปกรณ์ดับเพลิงอัตโนมัติ
3.1 ถังดับเพลิงแบบมีหัวฉีดอัตโนมัติ
3.2 ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ (Sprinklers) ที่ใช้สาร (Agent) ที่แตกต่างกันไป เช่น น้ําา, FM200, ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เลือกใช้ตาม ความเหมาะสม และสอดคล้องกับงบประมาณ
4. อุปกรณ์ดับเพลิงประจําาอาคาร (ดูมาตรฐานตามกฎหมายด้วย)
4.1 ระบบท่อยืน (Stand Pipe System) ท่ี มีน้ําาในท่อจ่าย ไปดับเพลิงได้ทุกชั้นของอาคาร ตามแนวตั้ง ท่ีประกอบด้วย
• หัวรับน้ําาดับเพลิง(InletValveหรือ Fire Department Connection)
• เครื่องสูบน้ําาดับเพลิง(FirePump) ขับด้วยเคร่ืองยนต์ดีเซล
•เคร่ืองสูบนํา้าดับเพลิงขับด้วยมอเตอร์ ไฟฟ้า (Jockey Pump)
• ท่อทางจ่ายนํา้าดับเพลิง (Fire Hydrant)
• แหล่งเก็บน้ําาดับเพลิง (Water Tank)
• สายฉีดนํา้าดับเพลิงแบบม้วนในวงล้อ
ผ่าตัด หรือห้องปลอดเช้ือในโรงพยาบาล
◗ ถูกต้องตามจําานวนท่ีสามารถดับ ไฟได้ เช่น โรงงานที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด เพลิงไหม้ปานกลาง ควรใช้เครื่องดับเพลิงท่ีมี ความสามารถดับไฟ (Fire Rating) 10A - 40A ในพ้ืนที่ไม่กว้างกว่า 1,045 ตารางเมตร เป็นต้น นี่เป็นการสรุปแบบย่อๆ นะครับ ถ้าจะว่า กันตามกฎหมาย หรือมาตรฐานอ่ืนๆ แล้ว มี รายละเอยี ดทค่ี อ่ นขา้ งซบั ซอ้ น และมากมายกวา่
น้ี...อย่าเพ่ิงท้อครับ ผมจะคอยให้คําาแนะนําา
P4 • Practice & Knowledge
การฝกึ อบรม และองคค์ วามรู้ ผมวา่ P ท่ี 4
นี้น่าจะสําาคัญที่สุด และละเลยไม่ได้...ลองคิด ดูนะครับ ท่ีมีปัญหาความไม่ปลอดภัยในบ้าน เมืองของเรานี่ เพราะเราขาด P ที่ 4 ใช่ไหม?
มีนโยบาย มีแผน จัดบุคลากรเต็มท่ี จัด สถานท่ีอย่างดี มีอุปกรณ์ครบถ้วน คุณภาพดี อยา่ งเพยี งพอตามมาตรฐาน แต...่ “ใชไ้ มเ่ ปน็ !” เกดิเหตเุมอ่ืใดความสญูเสยีเหลอืคณานบัอยา่ง น้ีโบราณเขาว่า “เสียน้อยเสียยาก เสียมากเสีย ง่าย”
ผมขอสรุปเร่ืองการอบรมให้ความรู้ และ ฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ ด้วยข้อกฎหมายใน พรบ. SHE ก็แล้วกันนะครับ
ฝกึซอ้มอพยพหนไีฟพรอ้มกนัทกุคนอยา่งนอ้ย ปีละหนึ่งครั้ง
ผมว่าถ้าเราทําาตามกฎหมาย แค่นี้ก็น่าท่ี จะปลอดจากอัคคีภัยได้แล้วนะครับ แต่ด้วย ประสบการณ์นานหลายสิบปี มีคนปฏิบัติตาม น้อยมาก จึงขอเตือนท่านผู้อ่าน ก่อนจบตอน ที่หน่ึงของปี 2558 ไว้ด้วย “บทกําาหนดโทษ” ตาม พรบ. SHE ฉบับนี้... ถือว่าเตือนกันด้วย ความรักนะครับ !
มาตรา 56 นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 13 มาตรา 16 หรือมาตรา 32 ต้องระวาง โทษจําาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสอง แสนบาท หรือทั้งจําา ทั้งปรับค่าปรับสองแสน ... เรื่องเล็ก ... แต่ติดคุก 6 เดือน ... เร่ืองใหญ่ นะครับ !!!
สวัสดี พบกันฉบับหน้า ในขั้นตอนการ จัดการความปลอดภัย
ตอนท่ี 2 “ขณะเกิดเหตุ”... ส่วนตัวผู้เขียน
นายคณาทัต จันทร์ศิริ
ประธาน สมาคมการดับเพลิงและช่วยชีวิต FARA และสมาพันธ์การช่วยชีวิต ดับเพลิง และกู้ภัย แห่งเอเซีย
      16
ISSUE4.VOLUME21.FEBRUARY-APRIL2015
                   ย
ค
ั
ั
ภ
ี
ค
ม
ค
ั
ภ
ี
ร
์
อ
  






































   20   21   22   23   24