Page 35 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 35

     จะหนั กลบั เพอ่ื ใชท้ างออกอน่ื ถา้ ไมม่ ที างออก อน่ื หรอื มคี วนั ไฟขวาง เดก็ ควรกม้ ตาํา่ ลง และ คลานต่ําาๆ ผ่านป้าย “ควันไฟ” โรงเรียนท่ีจะ ประสบความสาํา เรจ็ ในการฝกึ หนไี ฟควรจดั ให้ มีการซ้อมเป็นระยะๆ ตลอดทั้งปี โดยที่ไม่มี การแจ้งให้นักเรียน และบุคลากรในโรงเรียน รู้ล่วงหน้า
6. คู่มือครู ควรมีคําาแนะนําา และแผนผังทางออก สําาหรับนักเรียนก่อนการเร่ิมภาคการศึกษา การซ้อมหนีไฟควรเร่ิมต้ังแต่สัปดาห์แรกของ การเปดิ เรยี น โดยเฉพาะกบั นกั เรยี นใหม่ และ นักเรียนท่ีเปลี่ยนห้องเรียนใหม่จากปีการ ศึกษาท่ีผ่านมา การซ้อมคร้ังต่อๆ มาควรมี การฝึกซ้อมอย่างน้อย 1 คร้ังต่อเดือนตลอด ปีการศึกษา
7. ส่งิ สําาคัญในการซ้อมหนีไฟคือการซ้อมโดยไม่ ให้ครู นักเรียนบุคลากรทราบล่วงหน้า และ ควรมีการซ้อมหนีไฟในช่วงที่มีการเรียนการ สอน บุคคลเดียวที่ควรได้รับการแจ้งซ้อมหนี ไฟล่วงหน้า คือหัวหน้าสถานท่ีศึกษาเท่านั้น (อย่าลืมว่าทุกคนในโรงเรียนต้องเคยผ่านการ ฝึกมาแล้ว)
8. สิ่งสําาคัญอีกอย่างในการซ้อมหนีไฟ คือการ สร้างสถานการณ์เพ่ือฝึกหัดใช้ทางหนีไฟได้ หลายๆ ทาง ในกรณีที่ไม่สามารถผ่านทาง ออกไปได้ ซึ่งจะทําาได้โดยการวางส่ิงกีดขวาง แทนเปลวไฟ ควนั ไฟ ขวางทางออกสถานการณ์ นี้อาจสร้างขึ้นโดยการให้ใครคนใดคนหนึ่ง ถือป้าย “ไฟ” ขวางทางไว้ตรงทางออก
9. สง่ิ เพม่ิ เตมิ ทส่ี าํา คญั ในการซอ้ มหนไี ฟ คอื ปฏบิ ตั ิ ตามแผนการหนีไฟของโรงเรียน และให้ผู้รับ ผิดชอบการซ้อมหนีไฟ ประเมินผล และ
18
สังเกตุการณ์การซ้อมหนีไฟด้วย
10. รวบรวมทุกคนให้ออกจากตัวอาคารให้เร็วที่ สุด เดินเร็วๆ ไม่ว่ิง ชิดด้านขวา ห้ามดึง ห้ามดัน ห้ามผลัก ห้ามแซง ก้มตัวตํา่าเม่ือพบ ควัน ไม่พูดคุยกัน เพื่อให้นักเรียนสามารถ ได้ยินคําาสั่งของครูได้ชัดเจน
11. ควรจะมีคนตรวจดูห้องเรียนว่า ไม่มีใครหลง เหลืออยู่ รวมท้ังห้องพัก ห้องเก็บของ ห้อง สมุด ร้านอาหาร หรือห้องกิจกรรมอื่นๆ
12. ควรแน่ใจว่านักเรียนที่ไม่สามารถช่วยเหลือ ตนเองได้ (คนพกิ าร หรอื ผปู้ ว่ ยในหอ้ งพยาบาล) ได้รับความช่วย เหลือในการอพยพออกจาก ตัวอาคาร
13. นักเรียนแต่ละห้องเดินออกมายังจุดนัดพบ นอกตวั อาคาร ขานเรยี กชอ่ื นกั เรยี นตามบญั ชี รายชื่อ และ ให้อยู่ประจําาท่ีจนกว่าจะมีการ อนุญาตให้กลับเข้าช้ัน
จุดนัดพบ ควรห่างจากถนน ทางเดิน ซึ่ง พนักงานดับเพลิงจะใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติ งาน หลีกเล่ียงการขา้ มถนนหรอื เขา้ ไปวนุ่ วาย ในถนนจนอาจเกดิ อันตราย
14. มีตารางซ้อมหนีไฟตลอดทั้งปี ซึ่งกําาหนดให้ ไฟสมมุติเกิดข้ึน ณ บริเวณต่างๆ ของ โรงเรียนรวมทั้งโรงยิม ห้องประชุม ห้อง ทดลองวิทยาศาสตร์ ห้องสมุด ร้านอาหาร และห้องเรียน บางครั้งควรมีการซ้อมหนีไฟ เวลาท่ีนักเรียนย้ายห้องเรียนระหว่างพัก และ ให้มีการใช้ประโยชน์จากทางเดิน และบันได หนีไฟ
15. สัญญาณเตือนภัย และสัญญาณกลับเข้าตึก ควรแตกต่างกันโดยสิ้นเชิงและแตกต่างจาก สญั ญาณปกติ ในโรงเรยี น บางโรงเรยี นมกี าร ใช้ธงต่างสี แทนสัญญาณเตือนไฟ ในกรณีที่ ไม่ได้ยินสัญญาณเพื่อป้องกันความสับสน
16. ทุกคนไม่ควรพะวงกับของใช้ส่วนตัว หรือ อุปกรณ์ต่างๆ ของโรงเรียนระหว่างการซ้อม หนีไฟ
17. ไม่ควรให้คนใดคนหน่ึงเข้าตัวตึกก่อนได้รับ อนุญาตจากพนักงานดับเพลิง กรณีมีไฟไหม้
หรือจากหัวหน้าสถานศึกษา กรณีซ้อมหนีไฟ
18. โรงเรียนควรแจ้งหน่วยดับเพลิงให้ทราบถึง การซ้อมหนีไฟ
19. โรงเรียนจะมีการกําาหนดหน้าท่ีรับผิดชอบให้ กับบุคลากร ท่ีเรียกว่าทีมตอบสนองภาวะ ฉุกเฉิน ERT: Emergency Response Team อย่างถาวร เพื่อจัดระบบบัญชาการเมื่อเกิด เหตกุ ารณ์ ICS Incident Command System โดยศึกษาจากหน่วยงานภาครัฐ หรือที่สมา คมฯ FARA
20. นอกจากน้ัน ควรแน่ใจทุกๆ โรงเรียนมีการ แจ้งให้คณะครูและบุคลากรทราบถึง ระบบ บัญชาการในเหตุการณ์ ICS ของโรงเรียน
เร่ืองไฟไหม้ อุบัติภัย ไม่ใช่เกิดข้ึนแล้ว จะไม่เกิดอีก...
ขอให้เราช่วยกันผลักดันให้ทุกๆ โรงเรียน ได้มีแผนและมีการซ้อมหนีไฟในโรงเรียนทุก โรงเรียนด้วยเถิด
ก่อนที่เราจะต้องสียใจไปตลอดชีวิต เม่ือ เด็กท่ีตายในโรงเรียนศพต่อไป...
คือ ลูกของเราเอง !...
   ส่วนตัวผู้เขียน
นายคณาทัต จันทร์ศิริ
ประธาน สมาคมการดับเพลิงและ ช่วยชีวิต FARA และ สมาพันธ์การช่วยชีวิต ดับเพลิง และกู้ภัยแห่งเอเซีย
   ISSUE2.VOLUME23.AUGUST-OCTOBER2016
                  ย
ค
ั
ั
ภ
ี
ค
ม
ค
ั
ภ
ี
ร
์
อ






























































   33   34   35   36   37