Page 44 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 44

    2. คณุ กาญจนา วงค์ขัติ งานหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ “...หอผู้ป่วยวิกฤติอายุรกรรม 1 เป็นหอผู้ป่วยจําานวน 8 เตียง มีพ้ืนท่ี
ค่อนข้างคับแคบ มีทางออก 2 ทาง เมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน คือ บันไดด้าน หน้าตึกและบันไดหนีไฟที่อยู่ทางด้านหลังตึก ซึ่งคับแคบและค่อนข้างมืด อีก ทั้งยังมีส่ิงกีดขวางมากมาย...”
“...จากการจดั อบรมการเคลอ่ื นยา้ ยผปู้ ว่ ยหลายครง้ั ทผ่ี า่ นมา ไมไ่ ดค้ าํา นงึ ถึงการเคล่ือนย้ายผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤติ...”
3. คณุ บุษบา อัครวนสกุล หัวหน้าหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 2 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
“...หอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 2 ...ผู้ป่วยกลุ่มน้ีมีข้อจําากัดในการเคลื่อน
ย้าย หากเกิดปัญหาอุบัติภัยต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนด้วยเวลา อันรวดเร็ว ซึ่งแต่เดิมโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์มีนโยบายในการ เคลื่อนย้ายผู้ป่วยหนักที่ชัดเจนคืออัตราส่วนการเคลื่อนย้าย เจ้าหน้าท่ี 3 คน : ผู้ป่วย 1 คนใช้อุปกรณ์ในการเคล่ือนย้ายเป็นผ้าปูที่นอนหรือผ้าห่ม เคลื่อน ย้ายโดยทางหนีไฟหรือทางบันได ...ปัญหาที่สําาคัญคือระยะเวลาในการ เคลื่อนย้ายใช้เวลานาน บุคลากรในหน่วยงานมีจําานวนน้อยทําาให้ไม่สามารถ เคล่ือนย้ายผู้ป่วยได้ทันเวลา ผู้ป่วยมีความปลอดภัยน้อยมากทําาให้เจ้าหน้า ในหน่วยงานจึงขาดความมั่นใจในการเคล่ือนย้าย...”
4. คณุ มยุรฉัตร ด้วงนคร งานหอผู้ป่วยหนักศัลยกรรม โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
“ปี พ.ศ. 2541 ดิฉันเร่ิมเข้ามาปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยอายุรกรรมหญิง
1 ช้ัน 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ซึ่ง อาคารดังกล่าวเป็นอาคารที่สูงที่สุดในโรงพยาบาลเวลานั้น ขณะข้ึนลิฟต์ไป ทําางาน หรือเดินลงบันไดกลับบ้าน ดิฉันมักจะเหลือบไปมองอุปกรณ์ดับเพลิง ตรงชั้นล่างของอาคาร และคิดเสมอว่าขออย่าให้เกิดเหตุการณ์ร้ายแรงใดๆ ข้ึน เพราะลําาพังตนเองก็คงจะเอาชีวิตรอดยาก เนื่องจากอยู่ชั้น 4 และยัง ไม่เคยได้ทราบเก่ียวกับนโยบายการป้องกันอุบัติภัยของโรงพยาบาลเลย ไม่มี แม้กระท้ังการอบรมการป้องกันอัคคีภัยหรือการใช้อุปกรณ์ดับเพลิงหรือซ้อม แผนอุบัติภัย...”
5. คณุ มยุรี พรมรินทร์ งานหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 4 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ “...พบว่าการเคล่ือนย้ายผู้ป่วยโดยใช้ Soft Stretcher ร่วมกับการใช้รอก
หนีไฟ สามารถเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจากอาคารสูงได้ในเวลาท่ีรวดเร็ว แต่
ต้องมีการควบคุมการเคลื่อนย้ายโดยผู้ที่มีความชําานาญ เพ่ือความปลอดภัย
ซ่ึงในสถานการณ์ตามความเป็นจริง ผู้ที่ต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยคือพยาบาล
ISSUE1.VOLUME24.MAY-JULY2017
และเจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานใน ขณะน้ัน ดังน้ันบุคคลากรทางการ พยาบาลและเจ้าหน้าที่ทุกคนใน โรงพยาบาล ควรได้รับการอบรม การเคล่ือนย้ายผู้ป่วย เพื่อให้เกิด ความม่ันใจหากเกิดอุบัติภัยขึ้น รวมท้ังสามารถปฏิบัติการเคลื่อน ย้ายผู้ป่วยได้ โดยที่ไม่ต้องรอ ความช่วยเหลือจากหน่วยงานอ่ืน”
6. พว. รตั นา วฒั นศรี รกั ษาการหวั หนา้ หอผปู้ ว่ ยหนกั ทารกแรกเกดิ 2 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ “...โรงพยาบาลก็ไม่ได้ละเลยความปลอดภัย มีการให้ทุกคนในหน่วย
งานอบรมการป้องกันอัคคีภัยเบ้ืองต้น หลักสูตรครึ่งวันบ้าง หนึ่งวันบ้าง แต่ ถามว่าได้นําาความรู้ท่ีได้มาทําาอะไร บ้างไหม ส่วนใหญ่ก็คือเรียนรู้แล้วก็ เก็บลงกล่องกระดาษ เพราะไม่เคยมี
เหตุการณ์การเกิดอุบัติภัยร้ายแรง...” “...ทางหอผู้ป่วยเห็นความสําาคัญใน เรื่องนี้จึงได้ส่งบุคลากรไปอบรมหลัก สูตร ทีมตอบโต้เหตุฉุกเฉินระดับปฏิบัติ การ (ERT : Emergency Response Team) ต่อด้วยการอพยพโดยการใช้รอกเพื่อให้เป็นแกนนําาทําาให้เกิดความ ม่ันใจหากเกิดอุบัติภัยขึ้นรวมทั้งสามารถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเบื้องต้น ได้เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน นอกจากนี้โรงพยาบาลควรสนับสนุน จัดหาอุปกรณ์ เช่น รอก เชือก และอุปกรณ์ท่ีใช้ในการเคล่ือนย้ายให้มีประจําาทุกหอผู้ป่วย และกําาหนดเป็นนโยบายในการจัดอบรมฟื้นฟูความรู้ให้กับบุคลากรแบบเต็ม
รูปแบบในทุกๆ ปี”
7. คณุ วรางคณา ธวุ ะคาํา หอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด1 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ “....ฝ่ายบริหารของโรงพยาบาลร่วมกับสมาคม FARA ได้ทําาโครงการ
“การช่วยชีวิตผู้ป่วยในโรงพยาบาลอาคารสูง” ขึ้น ภายหลังได้รับฟังหลักการ จากอ.ทอม และฝึกซ้อมการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤติจากอาคารสูงไปยังจุด ปลอดภัยด้วยอุปกรณ์ต่างๆ ได้แก่ ผ้าปูเตียง ผ้าห่ม soft stretcher, spinal board และ clip เด็ก แล้วทําาให้ได้ทราบถึงข้อดี ข้อด้อยของอุปกรณ์ แต่ละชนิด ซึ่งอุปกรณ์บางอย่างก็พึ่งจะมารู้จักก็ตอน อ.ทอมนําามาให้ฝึก ซ้อมน่ีเอง รวมถึงทําาให้ได้ทราบว่าระบบการเคล่ือนย้ายผู้ป่วยวิกฤติของเรา
 17
                  ย
ค
ั
ั
ภ
ี
ค
ม
ค
ั
ภ
ี
ร
์
อ




































































   42   43   44   45   46