Page 45 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 45

  ยังไม่ชัดเจน รัด กุม และมี ความปลอดภัย มากเพียงพอ จน เมื่อ อ.ทอมได้มา ชี้แนะ ตรวจตรา สถานที่จริง ได้ฝึก ซ้อมเคล่ือนย้ายผู้ ป่วยจริงทําาให้เกิด แผนการเคลื่อน ย้ายผู้ป่วยวิกฤติ ที่ชัดเจน ผู้ป่วย
ปลอดภัยมากขึ้น บุคลากรมีความม่ันใจในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมากขึ้น และ ยังจะสามารถจัดการผู้ป่วยเบ้ืองต้นเพ่ือรอทีมช่วยเหลือได้ดีขึ้น นอกจากนี้ ยังรู้สึกอบอุ่นใจท่ีผู้บริหารจะช่วยเหลือสนับสนุนอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงมีการ วางแผนจัดหน่วยงานในอนาคตว่าผู้ป่วยวิกฤติควรอยู่ในช้ันใด มีทางเชื่อม อย่างไร เพื่อให้การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤติในอาคารสูงเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด ผู้ป่วยปลอดภัยที่สุด ขอบคุณ อ.ทอมค่ะ”
8. คุณสุนิศา บุตรขุนทอง หอผู้ป่วยหนักกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ “...ในหอผู้ป่วยมีประสบการณ์เมื่อเกิดแผ่นดินไหว ประมาณ 2 ครั้ง โดย
เฉพาะปี 2556 ซึ่งมีผลกระทบกับตึกเนื่องจากมีรอยร้าวมากขณะเกิดเหตุมี ความวุ่นวายในการช่วยเหลือและการเคล่ือนย้ายผู้ป่วย เนื่องจากเป็นผู้ป่วย วิกฤติ...”
9. คุณสุวิมล ขัตติยะ หอผู้ป่วยหนักศัลยกรรมระบบประสาท โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ “...ดังนั้นการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤติในโรงพยาบาลอาคารสูง จึงควรมี
อุปกรณ์ท่ีใช้ในการเคล่ือนย้ายผู้ป่วยวิกฤติ เช่น Soft Stretcher, Spinal Board ที่เพียงพอ และพร้อมใช้งาน เจ้าหน้าที่ทุกคนควรมีความรู้ความชําานาญใน การใช้อุปกรณ์ช่วยชีวิต ซึ่งจะทําาให้สามารถเคลื่อนย้ายผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย โรงพยาบาลควรกําาหนดให้มีทีม ERT ประจําาทุกหอผู้ป่วย และ จัดอบรมฟื้นฟูความรู้ให้แก่เจ้าหน้าท่ีทุกปี”
10.คุณวิราวรรณ เมืองอินทร์ หัวหน้าหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 3 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ “...จากประสบการณ์จริงเม่ือเกิดแผ่นดินไหวปี 2555 เราไม่สามารถ
ควบคุมความตื่นตระหนกของญาติผู้ป่วยได้ ต่างคนต่างก็ต้องการขนย้าย
18
ผู้ป่วยของตนเองลงจากตึกไปในพื้นที่คิดว่าปลอดภัย ทําาให้เกิดความวุ่นวาย สับสนขึ้นในแต่ละตึก...”
ปัญหา อุปสรรค
1. ทีมที่ปฏิบัติงานอยู่ไม่มีความพร้อมในการขนย้ายผู้ป่วยวิกฤติด้วย ตนเองต้องรอทีมเคลื่อนย้ายมาช่วยเหลือ
2. อุปกรณ์ในการช่วยขนย้ายไม่มีประจําาหน่วยงานทีมช่วยเหลือต้องนําา มาด้วย
3. สถานท่ีและอุปกรณ์เคล่ือนย้ายไม่สะดวกในการขนย้ายผู้ป่วยวิกฤติ ลงบันไดหนีไฟ เช่น บันไดหนีไฟแคบและชัน ไม่สะดวกที่จะขนย้าย ผู้ป่วยวิกฤติลงได้
4. เจ้าหน้าท่ีหรือบุคลากรประจําาหอผู้ป่วยไม่ได้รับการอบรมและฝึกฝน ทุกคน
แนวทางแก้ไข
1. ผู้ปฏิบัติงานต้องได้รับการฝึกอบรมอย่างสม่ําาเสมอ มีความเป็นมือ อาชีพมึความคล่องแคล่วว่องไว เพ่ือให้เกิดความม่ันใจในการปฏิบัติ หน้าท่ีทุกคน
2. ควรมีอุปกรณ์ขนย้ายที่สะดวก เพียงพอประจําาหน่วยงาน เช่น Soft Stretcher, อุปกรณ์ติดตั้งรอกหนีไฟ, ถุงมือผ้า, หมวกนิรภัย เป็นต้น
3. ผู้ป่วยวิกฤติไม่ควรพักรักษาอยู่บนอาคารสูงเกิน 2 ชั้น
ด้วยความหวังให้เกิดความปลอดภัยในทุกหย่อมหญ้าบนผืนแผ่นดินไทย ผู้เขียนบทความ จึงขอความกรุณาผู้ที่ออกแบบก่อสร้างอาคารโรงพยาบาล ได้นําาปัญหาที่ได้รับทราบจากบทความนี้ไปช่วยกันปรับปรุง พัฒนา ให้ผู้ ปฏิบัติหน้าที่ในโรงพยาบาล มีความสบายใจ สบายกายในการปฏิบัติหน้าที่ ทุกวินาที ในทุกโรงพยาบาล ด้วยความขอบพระคุณย่ิง...
          นายคณาทัต จันทร์ศิริ
ประธาน สมาคมการดับเพลิงและช่วยชีวิต FARA และ สมาพันธ์การช่วยชีวิต ดับเพลิง และกู้ภัยแห่งเอเซีย E-Mail : fara.kanathat@gmail.com
ISSUE1.VOLUME24.MAY-JULY2017
                  ย
ค
ั
ั
ภ
ี
ค
ม
ค
ั
ภ
ี
ร
์
อ



































































   43   44   45   46   47