Page 83 - ภาษาไทยประถม
P. 83
ห น า | 83
เรื่องที่ 2 ความหมายของวรรณคดี และวรรณคดีที่นาศึกษา
1. ความหมายของวรรณคดี
วรรณคด ี หมายถึง เรื่องแตงที่ไดรับยกยองวาแตงดี เปนตัวอยางดานภาษา แสดงให
เห็นถึงวัฒนธรรมความเปนอยูในยุคนั้นๆ แตงโดยกวีที่มีชื่อเสียง เชน วรรณคดีเรื่อง ขุนชางขุนแผน
พระอภัยมณี และสังขทอง เปนตน
วรรณคดีที่แตงดีมีลักษณะดังนี้
1. เนื้อเรื่องสนุกสนาน ใหขอคิด ขอเตือนใจ ที่ไมลาสมัย
2. ใชภาษาไดเพราะ และมีความหมายดี นําไปเปนตัวอยางของการแตงคําประพันธได
3. ใชฉากและตัวละครบรรยายลักษณะนิสัย และใหขอคิดที่ผูอานตีความ โดยฉากหรือ
สถานที่เหมาะสมกับเรื่อง
4. ไดรับการยกยอง และนําไปเปนเรื่องใหศึกษาของนักเขียนและนักคิดได
2. วรรณคดีที่นาศึกษา
สําหรับระดับประถมศึกษานี้มีวรรณคดีที่แนะนําใหศึกษา 3 เรื่อง คือ สังขทองซึ่งเปน
กลอนบทละคร พระอภัยมณีเปนกลอนนิทาน และขุนชางขุนแผนเปนกลอนเสภา โดยขอใหนักศึกษา
คนควาวรรณคดี 3 เรื่องและสรุปเปนสาระสําคัญ ในหัวขอตอไปนี้ (อาจใหผูเรียนนําหัวขอเหลานี้แยก
เขียนภายนอกโดยไมตองเขียนลงในหนังสือนี้ได)
1. สังขทอง
1.1 ผูแตง _________________________________________________
1.2 เนื้อเรื่องโดยสรุปยอ
____ _________________________________________________
____ _________________________________________________
____ _________________________________________________
____ _________________________________________________
____ _________________________________________________
1.3 ขอคิดและความประทับใจที่ไดรับจากเรื่องนี้
____ _________________________________________________
____ _________________________________________________
____ _________________________________________________
____ _________________________________________________
2. พระอภัยมณี