Page 78 - ภาษาไทยประถม
P. 78

78 | ห น า



                          1.5 คําไทยคําเดียว  อาจมีความหมายไดหลายอยาง  เชน  ขันตักน้ํา  นกเขาขัน
                              หัวเราะขบขัน

                          1.6 มีรูปวรรณยุกตกํากับเสียง   ทั้งที่ปรากฏรูปหรือไมปรากฏรูป   เชน    นอน

                              (เสียงสามัญ ไมปรากฏรูป) คา (เสียงตรี ปรากฏรูปไมโท)

                          1.7 คําที่ออกเสียง ไอ จะใชไมมวน ซึ่งมีอยู 20 คํา นอกนั้นใชไมมลาย
                              ผูใหญหาผาใหม        ใหสะใภใชคลองคอ

                              ใฝใจเอาใสหอ          มิหลงใหลใครขอดู

                              จะใครลงเรือใบ          ดูน้ําใสและปลาบู

                              สิ่งใดอยูในตู         มิใชอยูใตตั่งเตียง

                              บาใบถือใยบัว          หูตามัวมาใกลเคียง
                              เลาทองอยาละเลี่ยง     ยี่สิบมวนจําจงดี






                  2.  ลักษณะของคําภาษาถิ่น

                            ภาษาถิ่น หมายถึง คําที่ใชในทองถิ่นตางๆ ของประเทศไทยที่มีลักษณะแตกตางจาก

                  ภาษากลาง เชน ภาษาถิ่นใต ภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นเหนือ ซึ่งภาษาถิ่นเหลานี้เปนภาษาที่ใชกัน

                  เฉพาะคนในถิ่นนั้น
                            ตัวอยาง เปรียบเทียบภาษากลาง และภาษาถิ่น


                   ภาษากลาง           ภาษาถิ่นเหนือ      ภาษาถิ่นอีสาน      ภาษาถิ่นใต


                   พูด                อู                เวา               แหลง

                   มะละกอ             มะกวยเตด         หมากหุง           ลอกอ

                   อรอย              ลํา                แซบ                หรอย
                   สับปะรด            มะขะนัด            หมากนัด            ยานัด

                   ผม/ฉัน             ขาเจา เฮา        ขอย               ฉาน







                          3.  ลักษณะของคําภาษาถิ่นตางประเทศที่ปรากฏในภาษาไทย
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83