Page 77 - ภาษาไทยประถม
P. 77

ห น า  | 77



                          การนําคําภาษาถิ่นและภาษาตางประเทศมาใชในภาษาไทย  จึงทําใหภาษาไทยมีคําที่ใช
                  สื่อความหมายหลากหลายและมีจํานวนมากขึ้น ซึ่งไมวาจะเปนคําไทย คําภาษาถิ่น หรือคําภาษาต

                  างประเทศตางก็มีลักษณะเฉพาะที่แตกตางกัน

                          1.  ลักษณะของคําไทย มีหลักการสังเกต ดังนี้

                            1.1 มีลักษณะเปนคําพยางคเดียวโดดๆ มีความหมายชัดเจน เปนคําที่ใชเรียกชื่อ คน
                  สัตว สิ่งของ เชน แขน ขา หัว พอ แม เดิน วิ่ง นอน ฯลฯ

                            แตมีคําไทยหลายคําหลายพยางคซึ่งคําเหลานี้มีสาเหตุมาจากการกรอนเสียงของคํา

                  หนาที่นํากรอนเปนเสียงสั้น (คําหนากรอนเปนเสียงสั้น) กลายเปนคําที่ประวิสรรชนีย

                            เชน     มะมวง       มาจาก       หมากมวง

                                     มะนาว        มาจาก       หมากนาว
                                     มะกรูด       มาจาก       หมากกรูด

                                     ตะขบ         มาจาก       ตนขบ

                                     ตะขาบ        มาจาก       ตัวขาบ

                            -  การแทรกเสียง  หมายความวา  เดิมเปนคําพยางคเดียว  2  คําวางเรียงกัน  ตอมา
                  แทรกเสียงระหวางคําเดิม 2 คํา และเสียงที่แทรกมักจะเปนเสียงสระอะ เชน

                                     ผักกะเฉด     มาจาก       ผักเฉด

                                     ลูกกระดุม    มาจาก       ลูกดุม

                                     ลูกกะทอน    มาจาก       ลูกทอน


                          -  การเติมเสียงหนาพยางคหนา เพื่อใหมีความหมายใกลเคียงคําเดิม และมีความหมาย

                  ชัดเจนขึ้น

                          เชน

                              กระโดด              มาจาก          โดด
                              ประทวง             มาจาก          ทวง

                              ประทับ              มาจาก          ทับ

                              กระทํา              มาจาก          ทํา

                              ประเดี๋ยว           มาจาก          เดี๋ยว

                          1.2 มีตัวสะกดตรงตามมาตรา เชน จง (แมกง) ตัก (แมกก) กับ (แมกบ) เปนตน
                          1.3 ไมนิยมมีคําควบกล้ํา เชน ทราบ ตราบ สรวง ประพฤติ เปนตน

                          1.4 ไมมีตัวการันต คําทุกคําสามารถอานออกเสียงไดหมด เชน แม นารัก ไกล
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82