Page 47 - ชุดการสอนเศรษฐศาสตร์ นิภาทิพย์ ด่านพายุห์
P. 47

1. กำรแก้ปัญหำเฉพำะหน้ำ เป็นงานที่มุ่งแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน โครงการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่มี

               ผลระยะยาว คือ การแก้ไขปัญหาการจราจรและการป้องกันน้ าท่วมในเขตกรุงเทพมหานคร


                       2. กำรพัฒนำตำมขั้นตอน ตามล าดับความจ าเป็น และประหยัดเป็นการสร้างความ เข้มแข็งให้แก่

               ชุมชนในลักษณะการพึ่งตนเอง คือการท าให้ชุมชน หมู่บ้าน มีความเข้มแข็งก่อนแล้ว จึงขยายออกมาสู่สังคม

               ภายนอก มิใช่การน าเอาความเจริญหรือบุคคลจากสังคมภายนอกเข้าไปหา ชุมชนหรือหมู่บ้านที่ยังไม่ทันได้มี
               โอกาสได้เตรียมตัว


                       3. กำรพึ่งตนเอง โครงการพระราชด าริในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เน้นการ

               แก้ไขปัญหาความยากจนของราษฎร เช่น โครงการธนาคารข้าว โครงการธนาคารโคกระบือ โครงการพัฒนา

               ที่ดิน ตามพระราชประสงค์ซึ่งล้วนแต่เป็นโครงการเพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้


                       4. ภูมิสังคม การพัฒนาตามแนวพระราชด ารินั้น จะต้องให้สอดคล้องกับปัญหาที่เกิดขึ้นในภูมิภาค

               นั้นๆ โดยค านึงถึงลักษณะภูมิศาสตร์และลักษณะทางสังคมของพื้นที่ลักษณะทางภูมิศาสตร์และสังคมที่

               แตกต่างกัน พระองค์ทรงชี้แนะว่าการด าเนินการต่างๆ นั้นต้องให้สอดคล้องกับลักษณะภูมิสังคม


                       5. ควำมเรียบง่ำยและประหยัด พระองค์ทรงใช้หลักในการแก้ไขปัญหาการพัฒนาและ ช่วยเหลือ
               ราษฎรด้วยธรรมชาติ เรียบง่าย และ ประหยัด ราษฎรสามารถท าได้เอง หาได้ในท้องถิ่นและประยุกต์ใช้สิ่งที่มี

               อยู่ในภูมิภาคนั้นมาแก้ไข ปัญหาโดยไม่ต้องลงทุนสูงหรือใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยาก


                        6. กำรส่งเสริมควำมรู้และเทคนิควิชำกำรสมัยใหม่ที่เหมำะสม  พระองค์ทรงเห็นว่าควรที่ชาวบ้าน

               ในชนบทมีความรู้ในการท ามาหากิน การท าการเกษตรโดยการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ซึ่งเป็นสิ่งที่ชาวบ้านใน

               ชนบทขาดแคลนและต้องการ


                       7. กำรอนุรักษ์และพัฒนำทรัพยำกรธรรมชำติอย่ำงยั่งยืน พระองค์ทรงให้ความส าคัญกับ การ

               พัฒนาอนุรักษ์ และท านุบ ารุงปรับปรุงสภาพของทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การเกษตรไม่ว่าจะ
               เป็นป่าไม้ ที่ดิน แหล่งน้ า การประมงเพื่อให้อยู่ในสภาพที่สามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตได้อย่างยั่งยืน

               ควบคู่กับการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมเพื่อเป็น รากฐานของการพัฒนาประเทศในระยะยาว
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52