Page 64 - ชุดการสอนเศรษฐศาสตร์ นิภาทิพย์ ด่านพายุห์
P. 64
ร่วมของทุกภาคส่วนให้มากขึ้น อีกทั้งความต้องการใช้พลังงานของ ประเทศไทยมีแนวโน้มสูงขึ้นและต้องพึ่งพิง
การน าเข้าจากต่างประเทศเป็นจ านวนมาก
2. ด้ำนกำรผลิตและบริกำร ปัญหาที่เกิดขึ้นด้านการผลิตและบริการ แบ่งได้ดังนี้
1) ภาคเกษตร ภาคเกษตรมีการเติบโตน้อยกว่าภาคการผลิตอื่น เนื่องจากไม่สามารถพัฒนาผลิตภาพ
การผลิตได้ทันต่อสภาพการแข่งขันในตลาดโลกที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และต้องพึ่งพา
การส่งออกสินค้าเกษตรส าคัญโดยไม่ได้ยกระดับการผลิตและแปรรูป เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าเท่าที่ควร
2) ภาคอุตสาหกรรมผลิตภาพอการผลิตโดยรวมของภาคอุตสาหกรรมยังไม่ได้รับ การพัฒนาเท่าที่ควร
และมีการพึ่งพิงการน าเข้าวัตถุดิบ และสินค้ากึ่งส าเร็จรูปในสัดส่วนที่สูง
3) ภาคบริการภาคบริการ มีบทบาทส าคัญในการเป็นแหล่งจ้างงานขนาดใหญ่ของประเทศ แต่แรงงาน
ในภาคบริการส่วนใหญ่ เป็นแรงงานระดับล่างจึงท าให้มูลค่าเพิ่มของภาคบริการค่อนข้างต่ าและผลิตภาพการ
ผลิต โดยรวมหดตัวลง
3. ด้ำนควำมยำกจนและกำรกระจำยรำยได้ การกระจายรายได้ระหว่างกลุ่มประชากรชี้ให้เห็นว่า
ผลประโยชน์ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มที่มีโอกาสและรายได้สูง ท าให้สัดส่วนรายได้ระหว่างกลุ่มคนรวยกับกลุ่มคนจน
มีความแตกต่างกัน ซึ่งความเหลื่อมล้ าทางรายได้และโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ เป็นสาเหตุที่น าไปสู่ความ
ขัดแย้งในสังคม และเป็นอุปสรรคในการพัฒนาประเทศ
แนวทำงแก้ไขปัญหำเศรษฐกิจในประเทศ
ปัญหาเศรษฐกิจในประเทศมีผลต่อความเป็นอยู่ของประชาชน ดังนั้นจึงต้องหาทางแก้ไข โดย
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ได้ก าหนดแนวทางการพัฒนาเพื่อสร้าง ความเข้มแข็งทาง
เศรษฐกิจ ดังนี้
1. ปรับโครงสร้ำงเศรษฐกิจ สู่การพัฒนาที่มีคุณภาพและยั่งยืน โดยสร้างความเข้มแข็งให้ กับผู้ประกอบการ
โดยเฉพาะผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและผลักดันให้มี บทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ภายในประเทศให้เข้มแข็งและแข่งขันได้ แนวทางการด าเนินงาน คือ เอเชีย แอฟริกา และเศรษฐกิจในประเทศ
1) ปรับโครงสร้างการค้าและการลงทุนให้สอดคล้องกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ
2) ปรับโครงสร้างภาคบริการให้สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มกับสาขาบริการที่มีศักยภาพอและเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อมบนฐานความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม