Page 60 - ชุดการสอนเศรษฐศาสตร์ นิภาทิพย์ ด่านพายุห์
P. 60

ปัญหำเศรษฐกิจของประเทศไทย


                       ประเทศไทยมีความเจริญทางเศรษฐกิจมากขึ้นเป็นล าดับและจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีเกษตรนับเป็น

               ภาคการผลิตที่มีความส าคัญต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศ เนื่องจากเป็นแหล่งสร้างรายได้หลักของ

               คนส่วนใหญ่ในประเทศและเป็นฐานในการสร้างมูลค่าเพิ่มของภาคอุตสาหกรรม แต่ผลิตภาพการผลิตในภาค

               การผลิตและบริการยังอยู่ในระดับต่ า ท าให้ประเทศไทยไม่สามารถยกระดับความสามารถในการแข่งขันและ

               ขับเคลื่อนการเติบโต ทางเศรษฐกิจได้อย่างยั่งยืน โดยยังต้องพึ่งพิงและเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัย

               ภายนอก ประเทศมากขึ้นตามล าดับ นอกจากนี้ประเทศไทยยังมีปัญหาทางเศรษฐกิจอีกมาก ทั้งปัญหา
               เศรษฐกิจในชุมชนและเศรษฐกิจในประเทศ


               ปัญหาเศรษฐกิจในชุมชนและแนวทางแก้ไข


                ปัญหำเศรษฐกิจในชุมชน


                       ชุมชนในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ ชุมชนเมืองและชุมชนชนบท ส าหรับชุมชนเมือง ส่วนใหญ่มี

               ลักษณะเป็นเมืองขนาดกลางและขนาดเล็ก มีประมาณ 1,000 เมือง แต่ละชุมชนจะมี ประชากรประมาณ

               10,000-50,000 คน มีผลผลิตและรายได้จ ากัด รวมทั้งยังไม่ได้รับการพัฒนาอย่างจริงจัง ดังนั้น องค์กร

               ปกครองส่วนท้องถิ่นในชุมชนเมืองขนาดกลางและขนาดเล็กเหล่านี้จึงมีรายได้จ ากัด ไม่เพียงพอต่อการ

               จัดบริการสาธารณะพื้นฐานให้กับชุมชนของตนเองได้ครบถ้วน ส่วนชุมชนชนบทเป็นชุมชนอีกประเภทหนึ่ง มี
               ประมาณร้อยละ 80 ของชุมชนทั้งหมดในประเทศไทย โดยมีฐานทางเศรษฐกิจเป็นภาคเกษตรและแรงงาน

               รับจ้าง มีเศรษฐกิจชุมชนที่ฝืดเคือง ล้าหลัง ไม่เติบโต เนื่องจากทรัพยากรแรงงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และ

               ผลผลิตขั้นต้นของชุมชนส่วนใหญ่ ถูกน าออกไปหล่อเลี้ยงระบบเศรษฐกิจในเขตเมืองและเศรษฐกิจระหว่าง

               ประเทศจึงไม่สามารถสะสมและเพิ่มก าลังการผลิตอย่างต่อเนื่องได้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในชุมชนชนบท

               จึงมีรายได้น้อยหรือไม่มีเลย เนื่องจากไม่มีฐานรายได้ใดๆ เป็นของตนเองสภาพของชุมชนดังกล่าว มีผลต่อ

               สภาพเศรษฐกิจโดยเฉพาะเศรษฐกิจของชุมชน ซึ่งปัญหาเศรษฐกิจในชุมชนแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ดังนี้


               1. ด้ำนกำรผลิต ปัญหาที่เกิดขึ้นด้านการผลิต แบ่งได้ดังนี้


                       1) ผลผลิตทางการเกษตร เกษตรกรมีการใช้ปุ๋ยเคมีเพื่อเร่งการเติบโตของผลผลิต และน าสารเคมีมาใช้

               ในการก าจัดวัชพืชและแมลงมากเกินไป ท าให้เกิดปัญหาสารเคมีตกค้างในดิน และไหลลงสู่แหล่งน้ า ส่งผลให้
               ผลผลิตขาดความปลอดภัยและเป็นการเพิ่มต้นทุนในการผลิต
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65