Page 55 - ชุดการสอนเศรษฐศาสตร์ นิภาทิพย์ ด่านพายุห์
P. 55

พึ่งพาอาศัยกันในการท างาน มิใช่ต่างคนต่างท าซึ่งการพึ่งพากันในชุมชนเช่นนี้ ท าให้คนในสังคมชนบทมีความ

               ผูกพันกันมาก
















                       ต่อมาเมื่อสังคมขยายใหญ่ขึ้น คนในสังคมมีจ านวนมาก มีการคิดค้นสิ่งของเครื่องใช้สิ่งอ านวยความ

               สะดวกประเภทต่างๆ มากมายหลายประเภท สิ่งของบางอย่างมีขั้นตอนการท ายุ่งยากหรือต้องใช้ผู้ที่มีความ

               ถนัดหรือมีความช านาญในการผลิต รวมทั้งคนในสังคมมีความ ต้องการสินค้าและบริการมากขึ้นจึงเริ่มมีการ

               ผลิตในสิ่งที่ตนเองถนัดหรือมีความช านาญ เมื่อผลิตได้มากเกินกว่าความต้องการของตนเองก็จะน าไป

               แลกเปลี่ยนสิ่งอื่นที่ตนต้องการจนน าไปสู่การพึ่งพากันในระดับชุมชน

                       การด าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในระดับชุมชนในประเทศไทย มีการพึ่งพากันทั้งในด้าน การผลิต

               การบริโภค และการแลกเปลี่ยน ตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงการพึ่งพากันในชุมชนของประเทศไทย คือ การ

               รวมกลุ่มสหกรณ์และเครือข่ายความร่วมมือ


                       1. กำรรวมกลุ่มสหกรณ์ ในชุมชนทั่วประเทศไทยได้มีการรวมกลุ่มกันเพื่อช่วยเหลือ มวลสมาชิก

               ด้วยกันในรูปของสหกรณ์ โดยเริ่มด าเนินการมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 และได้ขยายกิจการสหกรณ์กว้างขวางขึ้น

               จนกระทั่งในปัจจุบันได้จ าแนกสหกรณ์ออกเป็นถึง 7 ประเภท คือ สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ประมง สหกรณ์

               นิคม สหกรณ์ร้านค้า สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์ บริการ และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน


                       จุดหมายส าคัญของการสหกรณ์คือ การช่วยกันแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจในชุมชน โดยยึดถือ การ

               ร่วมมือช่วยเหลือกันในหมู่สมาชิกในการด าเนินกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อพัฒนาชุมชน บรรดา สมาชิกในชุมชนต่าง
               ต้องพึ่งพาอาศัยกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในด้านเงินทุน การจ าหน่ายสินค้า และการช่วยยกฐานะความเป็นอยู่

               ของสมาชิก หากสมาชิกต้องการเงินทุนก็สามารถมากู้ยืมจากสหกรณ์ ซึ่งได้รวบรวมเงินทุนจากการออมของ

               สมาชิก เมื่อผลิตสินค้าได้ก็จะน ามารวมกันเพื่อจ าหน่าย หรือช่วยกันจ าหน่าย นับเป็นการพึ่งพากันทั้งในด้าน

               การผลิตและการจ าหน่าย ตัวอย่างเช่น สหกรณ์โคนม สมาชิกก็จะรวมตัวกันเพื่อด าเนินการเกี่ยวกับการเลี้ยงโค

               นม เริ่มตั้งแต่ให้ความรู้ แก่สมาชิกเกี่ยวกับแนวทางและวิธีการเลี้ยงโคนม เมื่อสมาชิกต่างไปเลี้ยงโคนมจนได้ผล

               ผลิตแล้ว สหกรณ์จะช่วยรวบรวมผลผลิตแล้วส่งจ าหน่ายให้บริษัทรับไปแปรรูปเพื่อจ าหน่ายต่อไป ช่วยเหลือ
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60