Page 3 - บทที่ 9 คลื่นกล
P. 3

1


                                                        บทที่ 9 คลื่นกล

                       การเคลื่อนที่แบบคลื่น เปนการถายโอนพลังงานจากแหลงกำเนิดไปการรบกวนกับอนุภาคของตัวกลาง
               เมื่ออนุภาคของตัวกลางไดรับพลังงานจะเกิดการสั่น แตไมไดมีการเคลื่อนที่ไปพรอมกับคลื่น ซึ่งมีความแตกตางจาก

               การเคลื่อนที่แบบอนุภาค เนื่องจากอนุภาคที่ถูกรบกวนจะมีการเคลื่อนที่ไปพรอมกับพลังงานที่มารบกวน

               9.1 การถายโอนพลังงานของคลื่นกล











                                                   รูปที่ 1 การเกดคลื่นวงกลม
                                                              ิ

                       เมื่อพิจารณาที่ผิวน้ำหลังจากที่โยนกอนหินลงไปในสระน้ำ จะพบวากอนหิน ซึ่งทำหนาที่เปนแหลงกำเนิด

               คลื่นเกิดการถายโอนพลังงานใหกับอนภาคของผิวนำ ซึ่งเปนตัวกลางที่อยูนงเกิดการเคลื่อนที่ขยายวงออกไป จึงทำ
                                               ุ
                                                         ้
                                                                             ิ่
                                                       ้
               ใหเกิดเปนคลื่นวงกลมที่ผิวน้ำ ซึ่งเรียกวา คลื่นนำ ดังรูปที่ 1
                                                             ้
                                                     ุ
                       ในการศึกษาลักษณะการเคลื่อนที่อนภาคของนำ จะสังเกตไดจากการที่คลื่นไปตกกระทบกับวตถุที่ลอยนำ
                                                                                                            ้
                                                                                                   ั
               พบวา วัตถุที่ลอยน้ำจะมีการสั่นขึ้นลงอยางตอเนื่องและซ้ำรอยเดิม ดังรูปที่ 2 ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นนี้เปนผลของการ
               รบกวนที่ไดมาจากการถายโอนพลังงานจากตำแหนงหนึ่งไปยังอีกตำแหนงหนึ่ง












                                รูปที่ 2  การเคลื่อนที่ขึ้นลงของวัตถุที่ลอยน้ำ เมื่อมีคลื่นน้ำเคลื่อนที่ผาน


               9.1.1 การสั่นในการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย และการเกิดคลื่น
                       จากการศึกษาการสั่นของเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย พบวา การแกวงของลูกตุมในกรณีมุมเล็ก ๆ

               (θ มีคานิอย) ดังรูปที่ 3 คาบของการแกวงลูกตุมจะมีคาขึ้นกับความยาวของเสนเชือกหรือแขนที่ติดกับลูกตม
                                                                                                            ุ
                                                                                                            
               ดังสมการที่ (9.1)
   1   2   3   4   5   6   7   8