Page 8 - บทที่ 9 คลื่นกล
P. 8

6


               9.2 คลื่นผิวน้ำ

                                                                                                            ้
                       คลื่นผิวน้ำเปนคลื่นกล ซึ่งเกิดขึ้นจากการที่ผิวน้ำถูกรบกวนและมีการถายโอนพลังงานผานอนุภาคของนำ
               โดยอนุภาคของน้ำไมไดมีการเคลื่อนที่ไปพรอมกับคลื่น ซึ่งโดยปกติแลวคลื่นหนึ่งลูกจะประกอบไปดวย การ

               กระจัด (Displacement) ซึ่งก็คือ ระยะที่วัดจากแนวกลาง  (แนวสมดุล) ไปยังตำแหนงใด ๆ บนคลื่น สำหรับ

               ตำแหนงสูงสุดของคลื่นเหนือระดับน้ำปกติ เรียกวา สันคลื่น (Crest) และตำแหนงต่ำสุดของคลื่นใตระดับน้ำปกติ
               เรียกวา ทองคลื่น (Trough) โดยระยะจากสันคลื่นถึงสันคลื่นถัดไปหรือระยะจากทองคลื่นถึงทองคลื่นถัดไป

                                                                                                            
               เรียกวา ความยาวคลื่น (Wavelength) เขียนแทนดวยสัญลักษณ λ มีหนวยเปนเมตร (m) หรืออาจกลาวไดวา
               ความยาวคลื่นนั้นเปนระยะหางระหวางจุด 2 จุดบนคลื่นที่มีเฟสตางกัน 360 องศา หรือ 2π เรเดียน ตำแหนงที่มี
               การกระจัดมากที่สุด ทั้งอยูบนสันคลื่นและทองคลื่น เรียกวา แอมพลิจูด (Amplitude) เขียนแทนดวยสัญลักษณ

               A ซึ่งจุด 2 จุด ที่อยูหางกันเปนระยะหนึ่งความยาวคลื่นจะหางจากระดับสมดุลเทากัน และเคลื่อนที่ไปในทิศทาง

                                                                                                            ั
               เดียวกัน เรียกวา จุดทั้งสองมีเฟสตรงกัน สวนจุด 2 จุด ที่อยูหางกันเปนระยะครึ่งความยาวคลื่นจะหางจากระดบ
               สมดุลเทากัน และเคลื่อนที่ในทิศทางตรงขามกัน เรียกวา จุดทั้งสองมีเฟสตรงขามกัน










                                       รูปที่ 9 องคประกอบของคลื่นผิวน้ำ ณ เวลาขณะหนึ่ง



               จุด ก และ ค แสดงถึง การกระจัด (Displacement)
               จด ข และ จ แสดงถึง สันคลื่น (Crest)
                 ุ
               จด ง และ ฉ แสดงถึง ทองคลื่น (Trough)
                 ุ
                                                                         ่
               ระยะจากจุด ข ถึง จ หรือ ระยะจากจุด ง ถึง ฉ แสดงถึง ความยาวคลืน (Wavelength)
                                                                                                            ้
                       ภายในตัวกลางหนึ่ง ๆ อัตราเร็วของคลื่นจะมีคาคงตัว เมื่ออนุภาคมีการสั่นขึ้นลงครบหนึ่งรอบ คลื่นผิวนำ
               จะเคลื่อนที่ไดหนึ่งลูกคลื่น และไดระยะทางเทากับหนึ่งความยาวคลื่น โดยระยะเวลาที่สันคลื่นหรือตำแหนงใด ๆ

               บนคลื่น เคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา เรียกวา อัตราเร็วคลื่น (Wave speed) เขียนแทนดวยสัญลักษณ V มี
                  
               หนวยเปนเมตรตอวินาที (m/s)  สำหรับคลื่นผิวน้ำจะมีอัตราเร็วที่คงตัว ซึ่งหาไดจาก


                                                              V =         
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13