Page 10 - บทที่ 9 คลื่นกล
P. 10
8
นอกจากในลวดสปริงจะสามารถเกิดการซอนทับกันของคลื่นดลสองขบวนจกลายเปนคลื่นรวมไดแลว
ยังมีคลื่นผิวน้ำที่สามารถเกิดการซอนทับกันของคลื่นดลสองขบวนไดเชนกัน โดยศึกษาไดจากสถานการณตอไปน ี้
เมื่อเรานำปลายดินสอสองแทงไปเตะลงบนผิวน้ำจะเกิดคลื่นดลลักษณะวงกลมสองคลื่นเคลื่อนที่ขยาย
ออกจากแหลงกำเนิด และเคลื่อนที่มาพบกัน ดังรูปที่ 11 และเมื่อเขียนแผนภาพแสดงลักษณะการซอนทับกันของ
คลื่นดลสองขบวนที่เกิดขึ้นบนผิวน้ำ ดังรูปที่ 12
รูปที่ 11 คลื่นดลวงกลมสองคลื่นบนผิวน้ำเคลื่อนที่มาพบกัน
รูปที่ 12 ลักษณะการซอนทับกันของคลื่นดลสองขบวนที่เกิดขึ้นบนผิวน้ำ
ั
เมื่อคลื่นดลวงกลมทั้งสองเคลื่อนที่เขาหากันในลักษณะที่ทองคลื่นหรือสันคลื่นของคลื่นทั้งสองมาพบกน
คาแอมพลิจูดของคลื่นรวมจะเพิ่มมากขึ้น กลาวคือ สันคลื่นของคลื่นรวมจะเพิ่มขึ้นกวาเดิม และทองคลื่นของคลื่น
รวมจะต่ำกวาเดิม ในรูปที่ 12 กำหนดใหเสนประแสดงถึงทองคลื่น และการซอนทับกันของทองคลื่น (เปนการรวม
แบบเสริมกัน) จะแสดงดวยสัญลักษณ สวนเสนทึบจะใชแทนสันคลื่น การซอนทับกันของสันคลื่น (เปนการรวม
แบบเสริมกัน) จะเขียนแทนดวย และเมื่อสันคลื่นรวมกับทองคลื่น หรือ ทองคลื่นรวมกับสันคลื่น (เปนการรวม
แบบหักลาง) แอมพลิจูดของคลื่นรวมจะเทากับผลตางของแอมพลิจูดของคลื่นทั้งสอง ซึ่งเขียนแทนดวย