Page 13 - บทที่ 9 คลื่นกล
P. 13

11





















                                   รูปที่ 15 เสนบัพและเสนปฏิบัพที่เกิดจากการแทรกสอดของคลื่น
























                                                                ่
                                      รูปที่ 16 การแทรกสอดของคลืนตอเนืองวงกลมสองขบวน
                                                                      ่

                       จากรูปที่ 16 เมื่อพิจารณาที่ทุก ๆ จุดบนเสนปฏิบัพ จะเห็นไดวาคลื่นมีการแทรกสอดแบบเสริม นั่นคือ
               สันคลื่นซอนทับกับสันคลื่น และทองคลื่นก็ซอนทับกับทองคลื่นพอดีดวยเชนกัน ดังนั้น ผลตางระยะทางจาก

               แหลงกำเนิดคลื่นทั้งสองไปยังจุดใด ๆ บนเสนปฏิบัพ จึงมีคาเทากับจำนวนเต็มของความยาวคลื่นเสมอ

                       กำหนดให S 1 และ  S 2 เปนแหลงกำเนิดคลื่นอาพันธ และจุด P เปนจุดบนเสนปฏิบัพใด ๆ จะไดวา


                               |s P − s P| =     λ                           เมื่อ      = 0,1,2,…    (9.8)
                                 1        2


                       ในทำนองเดียวกัน เมื่อพิจารณาที่ทุก ๆ จุด บนเสนบัพ จะเห็นไดวาคลื่นมีการแทรกสอดแบบหักลาง นั่น
               คือ สันคลื่นจะซอนทับกับทองคลื่นพอด ดังนั้น ผลตางระยะทางจากแหลงกำเนิดคลื่นทั้งสองไปยังจุดใด ๆ บนเสน
                                                ี
               บัพ จึงมีคาเทากับจำนวนเต็มบวกครึ่งหนึ่งของความยาวคลื่นเสมอ
   8   9   10   11   12   13   14