Page 14 - บทที่ 9 คลื่นกล
P. 14

12


                              ถาให Q เปนจุดบนเสนบัพใด ๆ จะได



                                                         1
                              |s      − s Q| = �n + � λ           เมื่อ      = 0,1,2,…    (9.9)
                                1        2
                                                         2



                       ปริมาณ |s P − s P| และ |s      − s Q| เรียกวา ความตางระยะทาง (Path difference)
                                                                                
                                 1       2           1        2
                                                                                                            ่
               ขณะเกิดการแทรกสอดของคลื่นอาพันธ คลื่นรวมที่เกิดขึ้นจะปรากฏเสมือนวานิ่งอยูกับที่ เรียกวา คลื่นนิง
               (Standing wave)
               9.4.4 การเลี้ยวเบนของคลื่น (Diffraction of wave) เกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปพบกับสิ่งกีดขวาง ซึ่งเปนแผน

               ที่กั้นทางเดินของคลื่นเพียงบางสวน จะมีคลื่นสวนหนึ่งที่แผจากขอบของสิ่งกีดขวางออกไปทางดานหลังของสิ่งกด
                                                                                                            ี
               ขวางนั้นได เรียกวา เกิดการเลี้ยวเบน ถาเพิ่มความยาวคลื่นของคลื่นตกกระทบจะทำใหเห็นการเลี้ยวเบนมากขึน
                                                                                                            ้
               และถาใหคลื่นเคลื่อนที่ผานชองเปดแคบ ๆ ที่เรียกวา สลิต (Slit) คลื่นที่แผออกมาจากชองเปดนั้นจะแผออกใน

               ลักษณะที่เปนคลื่นวงกลม จึงดูเสมือนเปนคลื่นที่ออกมาจากแหลงกำเนิดคลื่นวงกลม ซึ่งสามารถใชหลักการของ
                                                                                                            ั
               ออยเกนสในการอธิบายได โดยหลักการของออยเกนส ไดกลาวไววา “ทุก ๆ จุดบนหนาคลื่นเดียวกน
               อาจถือไดวาเปนแหลงกำเนิดคลื่นวงกลมชุดใหมที่แผออกไปทุกทิศทาง ซึ่งอัตราเร็วของคลื่นที่แผออกไปจะม ี

                                                                                                            ั
               คาเทากับอัตราเร็วของคลื่นเดิม” โดยถาชองเปดมีความกวางกวาความยาวคลืนจะเกิดการแทรกสอดเปนแนวบพ
                                                                                ่
                                                       
                 
               ได
                                                                                               
                                                                                                       
                                                       
                       หนาคลื่นเการเลี้ยวเบนของคลื่นที่แตกตางกัน จะขึ้นอยูกับความกวางของสลิต ถาสลิตกวางมากกวาความ
               ยาวคลื่น คลื่นที่ผานสลิตจะมีหนาคลื่นเปนเสนตรง ยกเวนบริเวณขอบที่โคงเล็กนอย เมื่อสลิตแคบลงจนใกลเคียง
               และนอยกวาความยาวคลื่น หนาคลื่นจะมีความโคงมากขึ้นเกือบเปนวงกลม    ทิศทางการ
                                                                                 เคลื่อนที่ของคลื่น
                                      ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น







                                    ก. หนาคลื่นเสนตรง                            ข. หนาคลื่นวงกลม
                                                                         ิ
                          รูปที่ 17 หนาคลื่นซึ่งเกิดจากคลื่นวงกลมเล็ก ๆ ทำใหเกดหนาคลื่นใหมที่ขนานกับหนาคลื่นเดิม
   9   10   11   12   13   14