Page 9 - บทที่ 9 คลื่นกล
P. 9

7


                                                                                           ี
               และจำนวนลูกคลื่นที่เคลื่อนที่ผานตำแหนงใด ๆ บนผิวน้ำในหนึ่งหนวยเวลา เรียกวา ความถ (Frequency) เขียน
                                                                                           ่
               แทนดวยสัญลักษณ      มีหนวยเปนรอบตอวินาที หรือ เฮิรตซ (Hz) และชวงเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ผานตำแหนงใด ๆ
               ครบหนึ่งลูกหรือเวลาที่อนุภาคของผิวน้ำสั่นขึ้นลงครบ 1 รอบ จะเรียกวา คาบ (Period) เขียนแทนดวยสัญลักษณ

               T มีหนวยเปนวินาที (s) โดยที่คาบ และความถี่จะมีความสัมพันธกัน ดังสมการ (9.6)


                                                                         1
                                                  1
                                                            =           หรือ            =                      (9.6)
                                                                            

               9.3 การซอนทับกันของคลื่น

                       เมื่อคลื่นดลตั้งแตสองขบวนขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำใหคลื่นดลเกิดการรวมตัวและซอนทับกันขึ้น จึงมี

               ผลทำใหการกระจัดลัพธในขณะที่คลื่นเกิดการรวมตัวกันมีคามากกวาการกระจัดเดิมของคลื่นในแตละขบวน โดย
               เรียกปรากฏการณนี้วา การซอนทับ (Superposition) โดยการซอนทับกันของคลื่นสามารถอธิบายไดดวยการใช

               หลักการซอนทับ (Principle of superposition) ซึ่งกลาววา เมื่อคลื่นตั้งแตสองคลื่นมาพบกันแลวเกิดการ

               รวมกัน การกระจัดของคลื่นรวมจะมีคาเทากับผลบวกการกระจัดของคลื่นแตละคลื่นที่มาพบกัน หลังจากที ่
                       ่
                                 ั
               คลืนเคลือนผานพนกนแลว แตละคลื่นจะยังคงมีรูปรางและทิศทางการเคลื่อนที่เหมือนเดิม
                  ่
















                                              ก. เมื่อคลื่นดลทั้งสองมีทิศทางการกระจัดในทิศทางเดียวกัน
                                             ข. เมื่อคลื่นดลทงสองมีทิศทางการกระจัดในทิศตรงขามกัน
                                                        ั้
                                            รูปที่ 10 การซอนทับกันของคลื่นดลในลวดสปริงสองขบวน
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14