Page 12 - บทที่ 9 คลื่นกล
P. 12

10


               อัตราสวนระหวางไซนของมุมตกกระทบกับไซนของมุมหักเหมีคาเทากับอัตราสวนระหวางความเร็วคลื่นใน

               ตัวกลางที่คลื่นตกกระทบกับคลื่นในตัวกลางที่คลื่นหักเห นั่นคือ


                                                              1       1                                     (9.7)
                                                    =
                                                              2       2












                           \


                                                      รูปที่ 14 การหักเหของคลื่น


                                                                                 ่
               9.4.3 การแทรกสอดของคลื่น (Interference of wave) เมื่อคลื่น 2 ขบวนทีมีความเหมือนกันทุกประการและ
               มีแหลงกำเนิดเหมือนกัน เคลื่อนที่มาซอนทับกันจะเกิดการแทรกสอด โดยถาหากสันคลื่นกับสันคลื่น หรือ ทอง
               คลื่นกับทองคลื่นเคลื่อนที่มาซอนทับกัน แอมพลิจูดที่เกิดจากการรวมกันของคลื่นทั้งสองจะเสริมกัน เรียกวา

               การแทรกสอดแบบเสริมกน สวนตำแหนงที่สันคลื่นพบกับทองคลื่น แอมพลิจดที่เกิดจากการรวมกนของคลื่นทั้ง
                                                                                ู
                                                                                                  ั
                                     ั
                                                 
               สองจะหักลางกัน เรียกวา การแทรกสอดแบบหักลาง ในกรณีที่คลื่นอาพันธสองขบวนที่มีเฟสตรงกัน หรือ มีความ
                                                                                                            ั
               ตางเฟสคงตัวมาซอนทับกัน จะเกิดการแทรกสอดแบบเสริมกันและหักลางกัน โดยเรียกตำแหนงที่การกระจด
                      ่
                                                                   
                                    ั
               ของคลืนทั้งสองหักลางกนแลวทำใหการกระจัดมีคาเปนศูนยวา ตำแหนงบัพ (Node) เขียนแทนดวยสัญลักษณ
               N และเรียกตำแหนงที่การกระจัดของคลื่นทั้งสองขบวนเสริมกันแลวทำใหมีการกระจัดมากที่สุดวา ตำแหนง
               ปฏิบัพ (Antinode) เขียนแทนดวยสัญลักษณ A
   7   8   9   10   11   12   13   14