Page 3 - สาระสำคัญ บทที่ 17 เรื่องของไหล
P. 3
17.2.1 ความดันของเหลวขึ้นกับความลึก
การทดลอง 17.1 ความดันในของเหลว เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความดันและความดึกใน
ของเหลว เมื่อความหนาแน่นของของเหลวมีค่าคงตัว และ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความแน่นของ
ึ
ของเหลว เมื่อความลึกมีค่าคงตัว จากการทดลองพบว่าความดันในของเหลวแปรผันตรงกับความลกและ
ความหนาแน่นของของเหลว ซึ่งนำไปสู่สมการความต่างของความดันขึ้นกับความแตกต่างของความลึก
ดังนี้
∆ = ∆ℎ
สมาการนี้ใช้ได้ในกรณีทของไหลที่มีเนื้อเดียวที่ต่อเนื่องถึงกันเท่านั้น เมื่อที่ผิวของของเหลวที่ปิด
ี่
ออกสู่บรรยากาศ จะได้สมการดังนี้
− = ℎ
0
หรือ = + ℎ
0
ซึ่ง P0 แทนความดันบรรยากาศ สำหรับปริมาณ ℎ เรียกความดันเกจ ( gauge pressure )
แทนด้วยสัญลักษณ์ Pg จึงสรุปได้ว่า ความดนจะขึ้นกับความลึก ( h ) อย่างเดียวไม่เกี่ยวกับรูปร่างภาชนะ
ั
และผลรวมของความบรรยากาศกับความดันเกจ เรียกว่า ความดันสัมบูรณ (absolute pressure)
์
17.2.2 เครื่องวัดความดัน
แอมนอมิเตอร์ (manometer) ประกอบด้วยหลอดแก้วรูปตัวยูมีของเหลวภายใน โดยอาศัย
หลักการการหาผลต่างของความดันทต้องการวัดกับความดันที่อ้างอิง ดังรูป 17.5
ี่