Page 5 - สาระสำคัญ บทที่ 17 เรื่องของไหล
P. 5

17.2.3 ความดันกับชีวิตประจำวัน

                              เครื่องวัดความดันโลหิต ประยุกต์ใชแมนอมิเตอร์หลอดแก้วรูปตัวยู ซื่งจะทำให้ทราบค่าบีบตัว
                                                            ้
                                                               ่
                       และคายตัวของหัวใจ ซึ่งปกติรางกายมนุษย์จะมีคาความดันบีบตัวประมาณ 120 มิลลิเมตรปรอท และค่า
                                               ิ
                       ความดันหัวใจคายตัว 80 มิลลเมตรปรอท

                              หลอดดูด  เมื่อใช้หลอดดูดจะเห็นว่า ความดันอกาศในหลอดดลดลง ความตันอากาศภายนอกซึ่ง
                                                                               ู
                       มากกว่าก็จะสมารถดันของเหลวขึ้นไปในหลอตจนกระทั่งของเหลวไหลเข้าปาก


                              ยางติดผนัง อากาศที่อยู่ระหว่างแผ่นยางและกระจกจะถูขับออก ทำให้บริเวณนั้นเป็นสุญญากาศ
                       จนแรงดันภายนอกมากกว่า


               17.3 กฎพาสคัล

                       กล่าวถึง เมื่อเพิ่มความดันให้ของเหลวที่อยู่นิ่งในภาชนะปิด ความดันทเพิ่มขึ้นจะถูกถ่ายทอดโดยไม่สูญ
                                                                                ี่
               หายไปยังทุก ๆ ตำแหน่งในของเหลวรวมทั้งผนังของภาชนะนั้นด้วย กฎพาสคัลสามารถอธิบายหลักการทำงานของ

               เครื่องอัดไอดรอลิก ที่กระบอกสูบ 2 ชุดที่แตกต่างกัน ซึ่งจกกฎพาสคลจะได  ้

                                                                  
                                                             =
                                                                  

                               
               โดยปริมาณ   ,   เรียกว่าการได้เปรียบเชิงกล
                                

               17.4 แรงพยุงและหลักอาร์คิมีดิส

                       แรงพยุง (buoyant force) แทนด้วยสัญลักษณ์ FB คือ วัตถที่จมในของเหลว เมื่อรวมแรงทุกแรงแล้วแรง
                                                                       ุ
                                  ่
               ลัพธ์ที่กระทำต่อด้านลางของวัตถุในทางทิศขึ้น จะมีขนาดมากกว่าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อด้านบนของวัตุในทิศทางลง
               แรงลัพธ์ด้านล่างจะมีค่ามากกว่าด้านบน จึงได้แรงลัพธ์ของแรงดังกล่าวในทางทิศขึ้นเรียกแรงลัพธ์นี้ว่า แรงพยุง

                       สามารถศึกษาแรงพยุงที่กระทำต่อวัตถุที่อยู่ในของเหลว จาการทดลองที่ 17.2 ดังรูป
   1   2   3   4   5   6   7   8   9