Page 33 - บทสวดธรรมจกร_Neat
P. 33

วันนี้จะแสดงปฐมเทศนาที่พระองค์โปรดปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕                                พัวพันด้วยกามในกามทั้งหลายนี้ใด หีโน เป็นของต�่าทราม

        ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันแคว้นเมืองพาราณสี บัดนี้เราจะฟัง                             คมฺโม เป็นเหตุให้ตั้งบ้านเรือน โปถุชฺชนิโก เป็นคนมีกิเลส


        ปฐมเทศนา ซึ่งเป็นธรรมอันลุ่มลึกสุขุมนัก ไม่ใช่ธรรมพอดี                             หนา อนริโย ไม่ไปจากข้าศึกคือกิเลสได้ อนตฺถสญฺหิโต

        พอร้าย และธรรมนี้เป็นต�ารับต�าราของพุทธศาสนิกชนสืบ                                 ไม่เป็นประโยชน์ นี่คืออย่างหนึ่ง

        ต่อไปด้วย ไม่ใช่เป็นเพียงแต่ว่าเป็นปฐมเทศนาเท่านั้น เป็น                                โย  จำย�  อตฺตกิลมถำนุโยโค  ทุกฺโข  อนริโย

        ต�ารับต�าราของพุทธศาสนิกชนทีเดียว ที่ผู้ปฏิบัติจะเอาตัว                            อนตฺถสญฺหิโต การประกอบความล�าบากให้แก่ตนเปล่า


        รอดได้ในธรรมวินัยของพระบรมศาสดา                                                    กลับเป็นทุกข์แก่ผู้ประกอบด้วย ไม่ไปจากข้าศึกคือกิเลสได้


              เริ่มต้นแห่งปฐมเทศนาว่า เอวมฺเม สุต� นี่เป็นพระสูตร                          ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ นี้อย่างหนึ่ง เป็น ๒ อย่างนี้

        ที่พระอานนท์เอามากล่าวปฏิญาณตนเพื่อให้พ้นจากความ                                   กามสุขัลลิกานุโยค อัตตกิลมถานุโยค นี่เป็นตัวกาม-

        เป็นสัพพัญญูว่าตัวไม่ได้รู้เอง เพราะได้ยินได้ฟังมาจากส�านัก                        สุขัลลิกานุโยค อัตตกิลมถานุโยคทีเดียว


        ของสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า เอว� อำกำเรน ด้วยอาการ                                      เอเต เต ภิกฺขเว อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺฌิมำ

        อย่างนี้ เอก� สมย� ในสมัยครั้งหนึ่ง สมเด็จพระผู้มีพระภาค                           ปฏิปทำ ตถำคเตน อภิสมฺพุทฺธำ ข้อปฏิบัติอันเป็นสาย

        ผู้เป็นที่พึ่งของสัตว์โลกทั้งหลาย ทรงประทับส�าราญอิริยาบถ                          กลาง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อปฏิบัติเป็นกลาง ไม่แวะเข้า


        ณ ส�านักมิคทายวัน แคว้นเมืองพาราณสี ครั้งนั้นพระองค์                               ใกล้ซึ่งที่สุดทั้ง ๒ อย่างนี้นั่นนั้น อันพระตถาคตเจ้าได้ตรัสรู้

        ทรงรับสั่งหาพระภิกษุปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ มา รับสั่งว่า                                แล้วด้วยปัญญายิ่ง และท�าความเห็นให้เป็นปรกติเรียกว่า


              เทฺวเม ภิกฺขเว อนฺตำ ปพฺพชิเตน น เสวิตพฺพำ ดูก่อน                            จกฺขุกรณี ญำณกรณี ส�วตฺตติ ย่อมเป็นไปพร้อม อุปสมำย

        ภิกษุทั้งหลาย ที่สุดทั้ง ๒ อย่างนี้นั้นอันบรรพชิตไม่ควรเสพ                         เพื่อความเข้าไปสงบระงับ อภิญฺญำย  เพื่อความรู้ยิ่ง


        โย จำย� กำเมสุ กำมสุขลฺลิกำนุโยโค การประกอบตนให้                                   สมฺโพธำย เพื่อความรู้พร้อม



        28
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38