Page 4 - เสนอหลักการและนโยบายขอเปิดหลักสูตร(ล1)_4-1-63
P. 4

- 4 -





                   5.2 สอดคลองกับแผนตาง ๆ หรือไม
                          - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

                   ในปจจุบันเทคโนโลยีทางดานยานยนตและระบบอัตโนมัติ มีความกาวหนาไปอยางรวดเร็วโดยมีเปาหมาย
               ที่ชัดเจนในการเพิ่มประสิทธิภาพยานยนตและลดมลพิษเปนหลัก และในอนาคตจะมีการเปลี่ยนแปลงไปสูยุคสมัย

               ของยานยนตสมัยใหมอยางเต็มรูปแบบ ซึ่งอุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม เปนหนึ่งในอุตสาหกรรมเปาหมายที่

               รัฐบาลใชเปนกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคตในกลุมอุตสาหกรรม 10 S-Curve โดยเฉพาะในพื้นที่ที่
               ดําเนินโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ซึ่งเปน

               มาตรการระยะยาวที่จะมีการปรับโครงสรางดานการผลิต ทั้งภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม รวมถึงภาค

               บริการของประเทศในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกใหมีประสิทธิภาพ เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ดึงดูดการ
               ลงทุนในหลายอุตสาหกรรมหลักที่สําคัญ เกิดการสรางงานคุณภาพ และมีการสนับสนุนเศรษฐกิจภูมิภาคอยางเปน

               ระบบ มีความตอเนื่องและยั่งยืน ในการเสริมสรางศักยภาพอุตสาหกรรมยานยนตและระบบอัตโนมัติของประเทศ
               จะตองมีการวางแผนการดําเนินงานเชิงระบบในภาพรวม ใหมีความพรอมในการรองรับเทคโนโลยีสมัยใหมที่

               เกิดขึ้นในอนาคตไดอยางรวดเร็ว โดยในการพัฒนาดานเทคโนโลยีนั้นจําเปนที่ตองมีการสงเสริมและใหความรู
               ทางดานยานยนตสมัยใหมและระบบอัตโนมัติ นอกจากนี้สิ่งสําคัญที่สุดคือ การสรางบุคลากรและกําลังคน ใหมี

               ความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมเพื่อรองรับกับเทคโนโลยียานยนตสมัยใหมและระบบอัตโนมัติ รวมถึงเพิ่มขีด

               ความสามารถในการสรางและผลิตยานยนตสมัยใหมใหเกิดขึ้นไดภายในประเทศ เชน ยานยนตที่ขับเคลื่อนดวย
               พลังงานไฟฟา พลังงานแสงอาทิตย เปนตน เพื่อลดมลภาวะอากาศที่เปนพิษและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

                   ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการปรับเปลี่ยนทั้งดานทักษะและองคความรูของบุคลากรโดยเริ่มจากพื้นฐาน

               เทคโนโลยีปจจุบัน และมีแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษยเพื่ออุตสาหกรรมยานยนตและระบบอัตโนมัติอยาง
               เหมาะสมทั้งระยะสั้น และระยะยาวอยางเปนระบบเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงจากเทคโนโลยียานยนตและระบบ

               อัตโนมัติในปจจุบันไปสูเทคโนโลยีอุตสาหกรรมทางดานยานยนตและระบบอัตโนมัติสมัยใหมในอนาคตอันใกล
               และเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ สรางความเปลี่ยนแปลงทั้งดานเทคโนโลยี เศรษฐกิจและ

               สังคมอยางมั่นคง จึงจําเปนตองมีการเตรียมพรอมใหทันตอการเปลี่ยนแปลงดังกลาวในอนาคต โดยจะตองมีการ
               บริหารจัดการองคความรูอยางเปนระบบ ทั้งการพัฒนาหรือสรางองคความรู รวมถึงการประยุกตใชเทคโนโลยีที่

               เหมาะสมมาผสมผสานรวมกับจุดแข็งในสังคมไทยกับเปาหมายยุทธศาสตรและแผน    กลยุทธของมหาวิทยาลัย

               เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือที่เนนการพัฒนาเทคโนโลยี ซึ่งตองใชบุคลากรทางวิศวกรรมศาสตรที่มี
               คุณภาพเปนจํานวนมาก เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางดานยานยนตซึ่งทํางานดวยระบบอัตโนมัติใน

               ตลาดโลกอันจะเปนการชวยฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศไดอยางยั่งยืน รวมทั้งการเสริมสรางความแข็งแกรงของ

               อุตสาหกรรมการผลิตขนาดเล็กและขนาดยอม ซึ่งจะทําใหเกิดความมั่นคงของระบบการผลิตโดยรวม อันจะนําไปสู
               การลดภาระพึ่งพาเทคโนโลยีการผลิตที่นําเขาจากตางประเทศ ซึ่งจะสงผลใหเกิดเสถียรภาพทั้งในภาพรวมของ

               ภาคเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตอไป
   1   2   3   4   5   6   7   8   9