Page 66 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 66

66 | ห น า



                       คุณคาทางวรรณศิลปไดแก  การพิจารณาศิลปะและรูปแบบงานประพันธโดยพิจารณาจากศิลปะ
               ในการแตงทั้งบทรอยแกวและบทรอยกรอง    มีกลวิธีในการแตงมีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสมกับ

               เนื้อหา  มีความนาสนใจและมีความคิดอยางสรางสรรค  ใชสํานวนในการแตงมีรูปแบบการนําเสนอที่

               เหมาะสมกับเนื้อหา  มีความนาสนใจและมีความคิดอยางสรางสรรค  ใชสํานวนภาษาสละสลวย  สื่อ

               ความหมายไดชัดเจน
                       คุณคาดานสังคม เปนการพิจารณาจากการที่ผูประพันธมักแสดงภูมิปญญาของตน คานิยม และ

               จริยธรรมที่สะทอนใหเห็นสภาพสังคมไดมากนอยเพียงใด หรือเกี่ยวของสัมพันธกับสังคมอยางไร  มีส

               วนชวยพัฒนาสังคมหรือประเทืองปญญาของตนในสังคมชวยอนุรักษสิ่งที่มีคุณคาของชาติ  บานเมือง
               และมีสวนชวยสนับสนุนคานิยมอันดีงาม เปนตน

                       การพิจารณาวรรณคดี คือ การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีเลมใดเลมหนึ่งอยางสั้นๆ โดย

               มีเจตนานําวรรณคดีนั้นใหผูอานรูจักวามีเนื้อเรื่อง มีประโยชนและมีคุณคาอยางไร  ผูพินิจมีความคิดเห็น
               อยางไรตอวรรณคดีเรื่องนั้นๆ ชอบหรือไมชอบ เพราะเหตุใด ในการพินิจหรือวิจารณวรรณคดีมีหลักการ

               ดังนี้

                       1.  แยกองคประกอบของหนังสือหรือวรรณคดีที่วิจารณใหได

                       2.  ทําความเขาใจกับองคประกอบที่แยกออกมาใหแจมแจงชัดเจน
                       3.  พิจารณาหรือวิจารณวรรณคดีในหัวขอตอไปนี้

                         3.1 ประวัติความเปนมา

                         3.2 ลักษณะของการประพันธ

                         3.3 เรื่องยอ
                         3.4 การวิเคราะหเรื่อง

                         3.5 แนวคิดและจุดมุงหมายในการแตง ฉาก ตัวละคร และการใชภาษา

                         3.6 คุณคาดานตางๆ

                       การอานวรรณคดีเพื่อการวิเคราะหวิจารณ


                       การอานวรรณคดี  ผูอานควรมีจุดประสงคในการอาน เชน การอานเพื่อฆาเวลาเปนการอานที่ไม

               ตองวิเคราะหวาหนังสือนั้นดีเลวอยางไร  การอานเพื่อความเจริญทางจิตใจ  เปนการอานเพื่อใหรูเนื้อเรื่อง
               ไดรับรสแหงวรรณคดี    การอานเพื่อหาความรูเปนการอานเพื่อเพงเล็งเนื้อเรื่อง  คนหาความหมาย  และ

               หัวขอความรูจากหนังสือที่อาน  การอานเพื่อพินิจวรรณคดี  จะตองอานเพื่อหาความรูและเพื่อความเจริญ

               ทางจิตใจ  จะตองอานดวยความรอบคอบ  สังเกตและพิจารณาตัวอักษรที่อาน  และตองสามารถทราบวา
               วรรณคดีที่อานเปนวรรณคดีประเภทใด เชน คําสอน  สรรเสริญวีรบุรุษของชาติ การแสดงอารมณ  บท

               ละคร  นิทาน  และยังตองพิจารณาเนื้อเรื่องและตัวละครวาเนื้อเรื่องนั้นเปนเนื้อเรื่องเกี่ยวกับอะไร    มี
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71