Page 61 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 61

ห น า  | 61



                       6.  นวนิยายดานสังคมศาสตร  คือ นวนิยายที่สะทอนสภาพสังคม  เชน  เรื่องเมียนอย  เสียดาย
               เพลิงบุญ  เกมเกียรติยศ  นางมาส เปนตน





                       องคประกอบของนวนิยาย


                       นวนิยายแตละเรื่องมีองคประกอบที่สําคัญดังนี้

                       1.  โครงเรื่อง (Plot) หมายถึง ของขายหรือโครงเรื่องราวหรือเหตุการณตางๆ ที่ตอเนื่องเปนเหตุ

               เปนผลตอกัน
                       2.  เนื้อเรื่อง (Story) หมายถึง เรื่องราวตางๆ ที่ผูเขียนถายทอดยกมาทําใหผูอานทราบวา  เรื่องที่

               อานนั้นเปนเรื่องราวของใคร  เกิดขึ้นที่ไหน  อยางไร  เมื่อใด  มีเหตุการณหรือความเหี่ยวของกันระหวาง

               ตัวละครอยางไร
                       3.  ฉาก (Setting) คือสถานที่เกิดเหตุการณในเรื่องอาจเปนประเทศ  เมือง  หมูบาน  ทุงนา ในโรง

               ภาพยนตร ฯลฯ

                       4.  แนวคิด (Theme) ผูแตงจะสอดแทรกแนวคิดไวอยางชัดแจนในคําพูด นิสัย  พฤติกรรม  หรือ

               บทบาทของตัวละคร  หรือพบไดในการบรรยายเรื่อง

                       5.  ตัวละคร (Characters) ผูแตงเปนผูสรางตัวละครขึ้นมา  โดยตั้งชื่อให  แลวกําหนดรูปรางหน
               าตา   เพศ    วัย    นิสัยใจคอ    บุคลิกภาพ    ตลอดจนกําหนดบทบาทและโชคชะตาของตัวละคร

               เหลานั้นดวย

                       หลักการอานและพิจารณานวนิยายมีดังนี้
                       1.  โครงเรื่องและเนื้อเรื่อง  การแสดงเนื้อเรื่อง  คือการเลาเรื่องนั่นเอง  ทําใหผูอานทราบวา  เปน

               เรื่องราวของใคร  เกิดขึ้นที่ไหน  อยางไร  เมื่อใด  มีเหตุการณอะไร  สวนโครงเรื่องนั้นคือสวนที่เนน

               ความเกี่ยวของระหวางตัวละครในชวงเวลาหนึ่งซึ่งเปนเหตุผลตอเนื่องกัน
                       โครงเรื่องที่ดีมีลักษณะดังนี้

                         1.1  มีความสัมพันธกันระหวางเหตุการณตางๆ  ในเรื่องและระหวางบุคคลในเรื่องอยาง

               เกี่ยวเนื่องกันไปโดยตลอด

                         1.2  มีขัดแยงหรือปมของเรื่องที่นาสนใจ เชน ความขัดแยงของมนุษย กับสิ่งแวดลอม การต
               อสูระหวางอํานาจอยางสูงกับอํานาจอยางต่ําภายในจิตใจ การชิงรักหักสวาท ฯลฯ  ขัดแยงเหลานี้เปนสง

               สําคัญที่ทําใหตัวละครแสดงพฤติกรรมตางๆ ออกมาอยางนาสนใจ

                         1.3  มีการสรางความสนใจใครรูตลอดไป (Suspense) คือการสรางเรื่องใหผูอานสนใจใครรูอย

               างตอเนื่องโดยตลอด  อาจทําไดหลายวิธี  เชน  การปดเรื่องที่ผูอานตองการทราบไวกอน  การบอกใหผูอาน
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66