Page 57 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 57

ห น า  | 57




               เรื่องที่  3  การอานแปลความ ตีความ  ขยายความ  จับใจความหรือสรุปความ

                       การอานแปลความ  หมายถึงการแปลเรื่องราวเดิมใหออกมาเปนคําใหม ภาษาใหมหรือแบบใหม

               ความมุงหมายของการแปลความอยูที่ความแมนยําของภาษาใหมวา    ยังคงรักษาเนื้อหาและความสําคัญ

               ของเรื่องราวเดิมไวครบถวนหรือไม
                       สําหรับการแปลความบทรอยกรองเปนรอยแกวหรือการถอดคําประพันธรอยกรองเปนรอยแกว

               นั้น    ควรอานขอความและหาความหมายของศัพทแลวเรียบเรียงเนื้อเรื่องหรือเนื้อหาเปนรอยแกวให

               สละสลวย  โดยที่เนื้อเรื่องหรือเนื้อหานั้นยังคงเดิมและครบถวน เชน

                             พฤษภกาสร                  อีกกุญชรอันปลดปลง
                         โททนตเสนงคง                 สําคัญหมายในกายมี

                         นรชาติวางวาย                  มลายสิ้นทั้งอินทรีย

                         สถิตทั่วแตชั่วดี             ประดับไวในโลกา

                       (สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส : กฤษณาสอนนองคําฉันท)
                         ความหมายของศัพท

                         พฤษภ      =     วัว            กาสร         =     ควาย

                         กุญชร     =     ชาง           ปลดปลง       =     ตาย
                         โท        =     สอง            ทนต         =     ฟน

                         เสนง     =     เขา            นรชาติ       =     มนุษย

                         วางวาย  =       ตาย            มลาย         =     สิ้นไป
                         อินทรีย  =     รางกาย        สถิต         =     คงอยู

                         ประดับ  =       ตกแตง         โลกา         =     โลก

                       แปลความเปนรอยแกวก็คือ
                       วัวควายและชาง  เมื่อตายแลวยังมีฟนและเขาทั้งสองขางเหลืออยู  สวนมนุษยเมื่อตายไปรางกายก็

               สิ้นไป  คงเหลือแตความชั่วหรือความดีที่ไดทําไวเทานั้น  ที่ยังคงอยูในโลกนี้





                       การอานตีความ


                       การอานตีความหรือการอานวินิจสารเปนการอานอยางพิจารณาถี่ถวนดวยความเขาใจเพื่อใหได

               ประโยชน หรือเปนไปตามวัตถุประสงคของผูเขียน จะเปนการอานออกเสียงหรืออานในใจก็ได แตจุด
               สําคัญอยูที่การใชสติปญญาตีความหมายของคําและขอความ  ทั้งหมดรวมทั้งสิ่งแวดลอมทุกอยางที่เกี่ยวข
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62