Page 59 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 59
ห น า | 59
ขอควรคํานึงในการตีความ
1. ศึกษาประวัติและพื้นฐานความรูของผูเขียน
2. ศึกษาสภาพสังคมในสมัยที่งานเขียนนั้นเกิดขึ้น วาเปนสังคมชนิดใด เปนประชาธิปไตยหรือ
เผด็จการเปนสังคมเกษตร พาณิชยหรืออุตสาหกรรม เปนสังคมที่เครงศาสนาหรือไม
3. อานหลายๆ ครั้ง และพิจารณาในรายละเอียด จะทําใหเห็นแนวทางเพิ่มขึ้น
4. ไมยึดถือสิ่งที่ตนตีความนั้นถูกตอง อาจมีผูอื่นเห็นแยงก็ได ไมควรยึดมั่นในกรณีที่ไมตรงกับ
ผูอื่นวาของเราถูกตองที่สุด
การอานขยายความ
การอานขยายความ คือ การอธิบายเพิ่มเติมใหละเอียดขึ้นภายหลังจากไดตีความแลว ซึ่งอาจใช
วิธียกตัวอยางประกอบหรือมีการอางอิงเปรียบเทียบเนื้อความใหกวางขวางออกไปจนเปนที่เขาใจชัดเจน
ยิ่งขึ้น
ตัวอยาง
ความโศกเกิดจากความรัก ความกลัวเกิดจากความรัก ผูที่ละความรักเสียไดก็ไมโศกไมกลัว
(พุทธภาษิต)
ขอความนี้ใหขอคิดวา ความรักเปนตนเหตุใหเกิดความโศก และความกลัวถาตัดหรือละความรัก
ได ทั้งความโศก ความกลัวก็ไมมี
ขยายความ
เมื่อบุคคลมีความรักในสิ่งใดหรือคนใด เขาก็ตองการใหสิ่งนั้นคนนั้นคงอยูใหเขารักตลอดไป
มนุษยสวนมากกลัววาคนหรือสิ่งที่ตนรักจะแตกสลายหรือสูญสิ้นจากไป แตเมื่อถึงคราวทุกอยางยอม
เปลี่ยนไปไมอาจคงอยูได ยอมมีการแตกทําลายสูญสลายไปตามสภาพ ถารูความจริงดังนี้และรูจักละ
ความรัก ความผูกพันนั้นเสีย เขาจะไมตองกลัวและไมตองโศกเศราเสียใจอีกตอไป
การขยายความนี้ใชในกรณีที่ขอความบางขอความ อาจมีใจความไมสมบูรณจึงตองมีการอธิบาย
หรือขยายความเพื่อใหเกิดความเขาใจยิ่งขึ้น การขยายความอาจขยายความเกี่ยวกับคําศัพทหรือการให
เหตุผลเพิ่มเติม เชน สํานวน สุภาษิต โคลง กลอนตางๆ เปนตน
การอานจับใจความหรือสรุปความ