Page 68 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 68

68 | ห น า



                       ฝายชูชกพาสองกุมารหลงเขาไปในเมืองสีวีราษฎร    พระเจาสญชัยทอดพระเนตรแลวทรง
               ทราบวาพระกุมารนั้นคือ พระนัดดาก็ทรงไถตัวสองกุมาร  สวนชูชกนั้นกินอาหารมากจนทองแตกตาย

               พระเจาสหญชัยและพระนางผสุดีใหสองกุมารพาไปยังอาศรมเพื่อรับพระเวสสันดรและพระนางมัทรี

               กลับเมือง    เมื่อทั้งหกกษัตริยพบกันก็ถึงแกวิสัญญีภาพ  (สลบ)  ไปทุกองค  เทวดาจึงบันดาลใหเกิดฝน
               โบกขรพรรษตกลงมาใหชุมชื่น ทั้งหกองคจึงฟนคืนชีวิตและเสด็จกลับพระนคร





               ตัวอยางการพิจารณาคุณคาวรรณคดี
                       การวิจารณวรรณคดีที่กลาวมาแลว   จะพิจารณาตั้งแตประวัติความเปนมา  ประวัติผูแตง ลักษณะ

               คําประพันธ         เรื่องยอ       ในการวิเคราะหคุณคาวรรณคดีนั้นจะตองพิจารณา

               การเขียน ลักษณะการเขียน สํานวนภาษาที่ใช แมกระทั่งคติเตือนใจ คําคม พฤติกรรมและนิสัยของตัว
               ละครในวรรณคดีเรื่องนั้นๆ ก็เปนองคประกอบสําคัญที่สงผลใหวรรณคดีเรื่องนั้นมีคุณคา ซึ่งจะนําเสนอ

               ตัวอยางวรรณคดี รายยาวมหาเวสสันดรชาดกกัณฑ ทานกัณฑและวรรณคดีสามัคคีเภทคําฉันท ดังนี้

                       1.  ทานกัณฑ ผูแตง “สํานักวัดถนน เนื้อเรื่องกลาวถึงกอนที่พระเวสสันดรจะเสด็จออกไปอยูปา

               ไดทรงทําทานครั้งยิ่งใหญเรียกวา สัตตสดกมหาทาน  แลวทูลลาพระเจาสญชัยและพระนางผุสดี  รุงขึ้น
               พระเวสสันดรใหเจาหนาที่เบิกเงินทองบรรทุกรถทรง    เสด็จออกจากเมืองพรอมพระนางมัทรีและสอง

               กุมาร  ขณะเสด็จทรงโปรยเงินทองเหลานั้นเปนทาน  กอนจะถึงปามีพราหมณมาทูลขอรถทรงบริจาคให

                พระเวสสันดรทรงอุมพระชาลี  พระนางมัทรีทรงอุมพระกัณหา  เสด็จมุงสูปาดวยพระบาท”
                       พินิจตัวละครในกัณฑทานกัณฑ  ซึ่งจะพินิจเปนตัวอยางเพียง 1 ตัว เทานั้น คือ พระเวสสันดร

               เพราะถือวาเปนตัวเอกของเรื่อง  พระเวสสันดรคือ พระโพธิสัตวชาติสุดทายกอนจะมาเปนพระพุทธเจา

               พฤติกรรมของพระองคจึงเปนแนวที่เหนือบุคคลธรรมดา  ซึ่งบุคคลธรรมดายากที่จะปฏิบัติไดดังพระองค

               อาทิ
                         1.1  ใฝใจที่จะทําทาน  ซึ่งเปนลักษณะนิสัยที่มีมาแตยังทรงพระเยาว  ครั้งเสด็จขึ้นครองรา

               ชยก็ทรงบริจาคทานทุกวันเปนประจํา    แมชางปจจัยนาค  ซึ่งเปนชางคูบานคูเมืองก็ประทานใหแกผูที่

               เดือนรอนจนเปนเหตุใหถูกเนรเทศ  กอนออกจากเมืองยังไดบริจาคทานอันยิ่งใหญที่เรียกวา  สัตตสดก
               มหาทาน    ดังขอความ  “พระพักตรเธอผองแผวเพื่อจะบําเพ็ญพระโพธิญาณเสด็จออกยังโรงทานทอง

               สนาม...เธอก็ใหพระราชทานสิ้นทุกประการ  ประจงจัดสัตตสดกมหาทาน เปนตนวา คชสารเจ็ดรอย...ให

               จัดโคนมนับรอยมิไดขาด ทั้งทาสทาสีก็สิ้นเสร็จ...เธอหยิบยกสัตตสดกมหาทานแลว  พระทัยทาวเธอผอง
               แผวชื่นบานตอทานบารมี...”  นอกจากนี้พระเวสสันดรไดทรงบําเพ็ญทานอันยิ่งใหญ คือ บุตรทานและ

               ประทานพระชายาใหแกพราหมณ (พระอินทร ปลอมมา) การใหทานทั้งสองครั้งนี้เปนยอดแหงทานหามีผู

               ใดกระทําไดเชนพระองค
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73