Page 73 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 73
ห น า | 73
3.2 การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติและเสียงตางๆการนําเสียงที่ไดยินจากะรรมชาติมาร
อยกรองพรรณนาใหเกิดความรูสึกเหมือนไดยินภาพทําใหเกิดความไพเราะนาฟงและสะเทือนอารมณ เช
น
ครืนครืนใชฟารอง เรียมครวญ
หึ่งหึ่งใชลมหวน พี่ให
ฝนตกใชฝนนวล พี่ทอด ใจนา
รอนใชรอนไฟไหม ที่รอนกลกาม
(ตํานานศรีปราชญ ของพระยาปริยัติธรรมธาดา)
คําวา “ครืนครืน” เปนการเลียนเสียงฟารอง
คําวา “หึ่งหึ่ง” เปนการเลียนเสียงลมพัด
3.3 การเลนคํา หมายถึง การนําคําพองรูปพองเสียงมาเรียบเรียงหรือรอยกรองเขาดวยกันจะ
ทําใหเกิดเสียงไพเราะและเพิ่มความงดงามทางภาษาเชน
ปลาสรอยลอยลองชล วายเวียนวนปนกันไป
เหมือนสรอยทรงทรามวัย ไมเห็นเจาเศราบวาย
คําวา “สรอย” คําแรกเปนชี่อปลา
คําวา “สรอย” คําหลังหมายถึงสรอยคอ
3.4 การใชคําอัพภาส หมายถึง คําซ้ําชนิดหนึ่ง โดยใชพยัญชนะซ้ําเขาไปขางหนาคํา เชน
ริก เปน ระริก ยิ้ม เปน ยะยิ้ม แยม เปน ยะแยม
การใชคําอัพภาสหลายๆ คําในที่ใกลกัน ทําใหแลเห็นภาพและเกิดความรูสึกสะเทือนอารมณ
ตามไปดวย เชน สาดเปนไฟยะแยง แผลงเปนพิษยะยุง พุงหอกใหญ คะควางขวางหอกซัดคะไขว
(ลิลิตตะเลงพาย)
3.5 การใชโวหารภาพพจน โวหารภาพพจน หมายถึง ถอยคําที่เรียบเรียงโดยไมกลาวอยาง
ตรงไปตรงมา ผูประพันธมีเจตนาจะใหผูอานเขาใจ และประทับใจยิ่งขึ้นกวาการชําคําบอกเลาธรรมดา
การใชโวหารภาพพจนอาจทําไดหลายวิธี เชน
3.5.1 เปรียบสิ่งหนึ่งวาเหมือนอีกสิ่งหนึ่ง ในการเปรียบเทียบนี้จะมีคําแสดงความหมาย
อยางเดียวกับคําวาเหมือน ปรากฏอยูดวย ไดแกคําวา เปรียบเหมือน เสมือน ดุจ ประดุจ ดุจดัง ราวเพียง เช
น
คุณแมหนาหนักเพี้ยง พสุธา (เพี้ยง-โทโทษ มาจากคําวาเพียง)
คุณบิดรดุจอา กาศกวาง