Page 74 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 74

74 | ห น า



                               3.5.2 เปรียบสิ่งหนึ่งเปนอีกสิ่งหนึ่ง บางตําราเรียกวาอุปลักษณ เชน พอแมคือ รมโพธิ์ ร
               มไทร ของลูก

                               ราชาธิราชนอม                    ใจสัตย

                               อํามาตยเปนบรรทัด               ถองแท

                               3.5.3 สมมุติสิ่งตางๆ ใหมีกิริยาอาการเหมือนมนุษย หรือที่เรียกวาบุคลาธิษฐาน เชน น้ํา

               เซาะหินรินรินหลากไหล  ไมหลับเลยชั่วฟาดินสลาย


                               3.5.4 การใชคําสัญลักษณหรือสิ่งแทนสัญลักษณ หมายถึง สิ่งหนึ่งใชแทนอีกสิ่งหนึ่ง เช
               น แมนเปนบัวตัวพี่เปนภุมรา เชยผกาโกสุมประทุมทอง


                         3.6  การกลาวเกินจริง  หรือที่เรียกวา  อติพจน  (อธิพจน)  การกลาวเกินจริงนี้ปรากฏอยูใน

               ชีวิตตามปกติ เชน เมื่อเราตองการจะเนนความรูสึกบางอยาง เชนกลาว “เหนื่อยสายตัวจะขาด” หรือ “ร
               อนแทบสุก” การกลาวเกินจริง ทําใหเกิดความแปลกและเรียกรองความสนใจไดดี


                         3.7  การเลนเสียงวรรณยุกต  กวีใชคําที่ประกบดวยสระ  พยัญชนะ  และตัวสะกดอยาง

               เดียวกันตางกันแตวรรณยุกต โดยนํามาเรียงไวในที่ใกลกันทําใหเกิดเสียงไพเราะดุจเสียงดนตรี เชน

                               “สละสละสมร               เสมอชื่อ ไมนา
                         นึกระกํานามไม                 แมนแมนทรวงเรียม”

                               หรือ

                         “จะจับจองจองสิ่งใดนั้น        ดูสําคัญคั่นคั้นอยางงันฉงน
                         อยาลามลวงลวงดูแลศกล          คอยแคะคนขนคนใหควรการ”


                         3.8  สัมผัสอักษร กวีจะใชคําที่มีเสียงพยัญชนะเดียวกัน เชน โคลงกลบอักษรลวน

                               ชายชาญชัยชาติเชื้อ       เชิงชาญ
                         สูเศิกสุดเศิกสาร              สงสรอง

                         ราวรามรุทรแรงราญ               รอนราพณ

                         เกริกเกียรติไกรกึกกอง         กอกูกรุงไกร
                                         (พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว)





                         3.9  สัมผัสสระ กวีจะใชคําที่มีเสียงสระคลองจองกัน เชน
                                   เขาทางตรอกออกทางประตู

                                   คางคกขึ้นวอแมงปอใสตุงติ้ง
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79