Page 77 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 77

ห น า  | 77



               นอกจากจะใชพยัญชนะตางกันแลวยังไมคอยมีตัวควบกล้ําเชน  ขี้กลาก  เปน  ขี้ขาด   โกรธ  เปน  โขด
               นอกจากนี้จะมีคําวา โปรด ไทยเหนือ โปด ใคร เปนไผ เปนตน

                         6.2   ภาษาไทยอีสานก็มีกลายเสียงหรือมีหนวยเสียงตางกับภาษาไทยกลางหลายตัว ตัวอยาง

               ช ใช ซ แทนเสียง ร ใช ฮ แทนเสียง ญ และ ย จะออกเสียงนาสิก แทนภาษาไทยกลาง ชาง ไทยอีสานเปน

               ซาง เรา เปน เฮา เลือด เปน เฮือด หญิง เปน ญิง (นาสิก) ใหญ เปน ใญ ภาษาไทยอีสานจะไมมีคําควบกล้ํา
               คลายเหนือ เชน กลวย เปน กวย ปลา เปน ปา ของ เปน ขอ เปรต เปน เผด และภาษาไทยอีสานมีการสลับ

               รับเสียงดวย เชน ตะกรอ เปน กะตอ  ตะกรา เปน กะตา  ตะกรุด เปน กะตุด เปนตน

                         6.3  ภาษาไทยใตก็มีการกลายเสียงพยัญชนะจากภาษาไทยกลางเหมือนกัน ภาษาไทยกลาง

               เปน ง ภาษาไทยใตจะเปน ฮ เสียง ฐ จะเปน ล (บางจังหวัด) และญ จะออกเสียงนาสิก ตัวอยาง ภาษาไทย

               กลาง คําวา เงิน ภาษาไทยใต เปน เฮิง งาน เปน ฮาน รัก เปนหลัก เปนตน นอกจากนี้พยัญชนะและคําอื่น
               ที่ภาษาไทยกลาง

                       7.   ภาษาถิ่นเหนือใตและอีสานมีการกลายเปนเสียงจากภาษาไทยกลางหนวยเสียง

                         7.1 ภาษาไทยเหนือจะกลายเสียงสระ อ ิ เปน อึ เชน คิดเปนกึ้ด สระอึเปนสระเออ เชน ถึงเปน
               เถิง สระอะ เปนสระอา เชน มะปราง เปน หมาผาง มะละกอ เปนหมากกวยเต็ด สระเอ เปนสระแอ เชน เอว

               เปนสระแอว เปนตน

                         7.2 ภาษาไทยอีสานมีการกลายเสียงสระเชน สระเอือ เปนเอีย เชน เนื้อเปนเนี้ย สระอัวเปน

               สระสระโอ  เชนวัว  เปน  โง  ตัว  เปน  โต  สระอึ  เปนสระเออ  เชน  ครึ่ง  เปนเคิ่ง  สระอา  เปนสระอัว

               เชน ขวา เปน ขัว เปนตน
                         7.3  ภาษาไทยอีสานมีการกลายเสียสระ  เชน  ภาษาไทยกลางใช  สระ  อิ  อ ี  ภาษาถิ่นใตใช

               สระเอะ  เอ เชน  สี่ เปน เส ซีก เปน แซก สระเอะ เอ ใชเปนสระแอะ แอ เชน  เด็ก  เปนแด็ก เปนตน

                       8.  ความหมายของคําในภาษาถิ่นแตกตางไปจากภาษากลาง  เชน  คําวารักษา  ภาษาถิ่นใตมี
               ความหมายวา เลี้ยง เชน นําลิงไปรักษา หมายถึงนําลิงไปเลี้ยง บัวลอย ภาษาถิ่นเหนือหมายถึงผักตบชวา

               แพรนม ภาษาถิ่นอีสานหมายถึงผาเช็ดหนา  ภาษาถิ่นใตเรียกผาเช็ดหนาวา ผานุย  เปนตน


                                                     

               กิจกรรมที่ 2  ใหผูเรียนเขียนเครื่องหมาย วงกลม ลอมรอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

                       1.  ขอใดใหความหมายภาษาถิ่นไดถูกตอง
                         ก.  ภาษาตระกูลตางๆ             ข. ภาษาที่พูดกันในทองถิ่นนั้นๆ

                         ค.  ภาษาที่ใชพูดกันทั่วประเทศ   ง. ภาษาของชนกลุมใหญทั่วโลก

                       2.  ขอใดเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดภาษาถิ่น
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82