Page 81 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 81

ห น า  | 81



                       5.  ใหความบันเทิงใจแกชุมชนทั้งประเภทที่เปนวรรณกรรมและศิลปะการแสดง
               พื้นบาน เชน หมอลําของภาคอีสาน การเลนเพลงเรือ เพลงเกี่ยวขาว ของภาคกลาง การซอ การเลาคาว

               ของภาคเหนือ การเลนเพลงบอก รองมโนราหของภาคใต เปนตน

                       6.  กอใหความสามัคคีในทองถิ่น เกิดความรักถิ่นและหวงแหนมาตุภูมิ

                       รูปแบบของวรรณกรรมทองถิ่น


                       1.  รูปแบบของวรรณกรรมทองถิ่นภาคกลาง

                         1.1  กลอนสวด หรือเรียกวา คําพากย ไดแก กาพยยานี ฉบัง สุรางคนางค

                         1.2  กลอนบทละคร  (นอก)  ใชฉันทลักษณเหมือนกลอนบทละครทั่วไปแตไมเครงครัด
               จํานวนคําและแบบแผนมากนัก

                         1.3  กลอนนิทาน  บทประพันธเปนกลอนสุภาพ  (กลอนแปด)  เปนรูปแบบที่ไดรับความ

               นิยมมาก
                         1.4  กลอนแหล นิยมจดจําสืบตอกันมาหรือดนกลอนสด ไมนิยมบันทึกเปนลายลักษณ

                       2.  รูปแบบของวรรณกรรมทองถิ่นภาคอีสาน

                         2.1  โคลงสาร  เปนฉันทลักษณที่บังคับเสียงเอกโท  สวนมากใชประพันธวรรณกรรม

               ประเภทนิทาน นิยาย หรือนิทานคติธรรม
                         2.2   กาพยหรือกาพยเซิ้ง ประพันเปนบทสั้นๆ สําหรับขับลําในพิธี เชน เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งนาง

               แมว ฯลฯ

                         2.3   ราย (ฮาย) ลักษณะเหมือนรายยาว ใชประพันธวรรณกรรมชาดก หรือนิทานคติธรรมที่

               ใชเทศน เชน มหาชาติ (ฉบับอีสานเรียกวาลํามหาชาติ)
                       3.  รูปแบบของวรรณกรรมทองถิ่นภาคเหนือ

                         3.1  คําวธรรม  ฉันทลักษณเหมือนรายยาวชําสําหรับเทศน  นิยมประพันธวรรณกรรม

               ประเภทนิทานชาดกหรือนิทานคติธรรม
                         3.2  คําวซอ คําประพันธที่บังคับสัมผัสระหวางวรรคและบังคับเสียงเอกโท นิยมแตนิทาน

               เปนคําวซอแลวนํามาขับลําในที่ประชุมชน ตามลีลาทํานองเสนาะของภาคเหนือ

                         3.3  โคลง  ภาษาถิ่นเหนือออกเสียงเปน  “กะลง”  เปนฉันทลักษณที่เจริญรุงเรือง

               ควบคูกับ  “คาวธรรม”  มีทั้งกะลงสี่หอง  สามหอง  และสองหอง  (โคลงสี่  โคลงสาม  และ

               โคลงสอง)
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86