Page 6 - หน่วยที่ 1 new p4-38
P. 6
9
2. ลักษณะของการบัญชีต้นทุนช่วง
จากความหมายของการบัญชีต้นทุนช่วงที่กล่าวมาแล้วข้างต้น สามารถสรุปลักษณะของ
การบัญชีต้นทุนช่วงที่ส าคัญ ได้ดังนี้
2.1 มีการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลแยกเป็นแต่ละ แผนกการผลิต หรือเป็นศูนย์ต้นทุน
(Cost Center) โดยมีการจัดแบ่งตามหน้าที่งาน (Function) เช่น แผนกตัด แผนกเลื่อย แผนกประกอบ
แผนกตกแต่ง เป็นต้น
2.2 ต้นทุนการผลิตที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรงและค่าใช้จ่ายในการ
ผลิต ที่เกิดขึ้นจะถูกสะสมไว้ในบัญชีงานระหว่างท า (Work-in –Process) ของแต่ละแผนก
2.3 การรวบรวมข้อมูลหน่วยที่ผลิตเสร็จจากแผนก ในกรณีที่มีงานระหว่างท าคงเหลือในตอนต้น
งวดและปลายงวด จะต้องท าการค านวณหาหน่วยของงานระหว่างท าให้เป็นหน่วยเทียบเท่าส าเร็จรูป
(Equivalent Units)
2.4 เมื่อแผนกผลิตท าการผลิตเสร็จ จะท าการโอนต้นทุนออกจากบัญชีงานระหว่างท า ไปยัง
บัญชีงานระหว่างท าแผนกถัดไปหรือแผนกที่รับโอน หรือบัญชีสินค้าส าเร็จรูป ต้นทุนการผลิต จาก
แผนกต่าง ๆ จะถูกสะสมไว้ตั้งแต่แผนกแรกจนถึงแผนกสุดท้ายที่ผลิตเสร็จ ต้นทุนนี้จึงถูกเรียกว่า
ต้นทุนสินค้าส าเร็จรูป
2.5 ข้อมูลการสะสมต้นทุนรวม และต้นทุนต่อหน่วย ในแผนกผลิตจะไปแสดงไว้ ในรายงาน
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production Report) ดังภาพที่ 1.1
A
B
C
-A -B -C
XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX
XXX XXX XXX
XXX XXX XXX
-A -B -C
ภาพที่ 1.1 การสะสมต้นทุนของการบัญชีต้นทุนช่วง