Page 25 - 1-5
P. 25
25
อำจกล่ำวได้ว่ำกำร์ตูน คือภำพวำดง่ำยๆ ด้วยเส้นและรูปทรงสำมำรถสื่อควำมหมำยแทนตัวหนังสือ
ได้เป็นภำษำสำกลที่คนทุกชำติ ทุกวัยสำมำรถเข้ำใจได้ หรือเป็นภำพที่ผิดธรรมชำติน ำมำตกแต่งให้
สวยงำมน่ำรัก ขบขัน สำมำรถใช้เป็นสื่อโฆษณำและสำมำรถใช้เล่ำเรื่องรำวต่ำงๆ ได้เป็นอย่ำงดี
ภำพที่ 2.13 แสดงภำพกำร์ตูนต่ำงๆ ที่ถูกแต่งขึ้นเหมำะสมกับผู้ชม
ที่มำ : Differsheet, 2562
2.6 ทฤษฎีเกี่ยวกับการทุจริตฉ้อโกง
ทฤษฎีกำรทุจริตเป็นกำรกล่ำวถึงกำรประเมินควำมรุนแรงและกำรผันแปรของกำรทุจริต โดยใช้
กรอบของทฤษฎีและกำรน ำทฤษฎีไปใช้ในภำคปฏิบัติ พอจ ำแนกได้ดังนี้
2.6.1 การทุจริตที่พัฒนาตามแนวความคิด
มีควำมน่ำจะเป็นมีดังนี้ Pf = D x O x M (เกียรติศักดิ์ จีรเธียรนำถ, 2556) กำรทุจริตจะ
เกิดขึ้น เมื่อเหตุปัจจัยทั้ง 3 ประกำรมีอยู่อย่ำงพร้อมมูล จะขำดปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งไม่ได้ ปัจจัยทั้ง 3
ประกำร คือ ประกำรที่หนึ่ง ควำมไม่ซื่อสัตย์ (Dishonesty) ควำมไม่ซื่อสัตย์ของบุคคลเป็นสิ่งที่มีอยู่ใน
สังคม อย่ำงน้อยก็เป็นจ ำนวนหนึ่งที่พอจะสร้ำงควำมเสียหำยแก่องค์กรได้ ควำมไม่ซื่อสัตย์เป็นคุณสมบัติ
ส่วนบุคคลที่มีส่วนส ำคัญในกำรผลักดันให้บุคคลท ำกำรทุจริตได้ กำรทุจริตทุกกรณีต้องได้รับกำร เริ่มต้นที่
บุคคลหวังประโยชน์ อำจจะเป็นตัวเงิน ทรัพย์สิน หรือบริกำร ประกำรที่สอง โอกำส (Opportunity) ผู้ที่
พยำยำมจะท ำกำรทุจริตย่อมจะหำโอกำสที่เอื้ออ ำนวยต่อกำรทุจริต โอกำสที่เย้ำ ยวนต่อกำรทุจริตย่อม
กระตุ้นให้เกิดกำรทุจริตได้ง่ำยยิ่งขึ้นกว่ำโอกำสไม่เปิดช่องให้ จำกโครงสร้ำง ขององค์กรและกระบวนกำร
บริหำรงำนและระบบกำรควบคุมภำยใน ย่อมมีควำมสัมพันธ์กับโอกำสที่จะเกิดขึ้นแก่ผู้ที่ก ำลังตกลงใจ