Page 54 - วทยทษะ
P. 54

50



                       7. สัญลักษณ์ของคํานําหน้าหน่วยทุกคําที่มากกว่า  10 (kilo) จะใช้


               ตัวพิมพ์ใหญ่ เช่น


               10 เมกกะ (Mega) ใช้สัญลักษณ์  M 10 จิกะ (Giga) ใช้สัญลักษณ์  G 10


               เทระ (Tera) ใช้สัญลักษณ์ T 10 เพตะ (Peta) ใช้สัญลักษณ์ P


                       8. คําอุปสรรคที่เติมหน้าหน่วยให้ใช้เพียงครั้งเดียว  เช่น 10 s = 1


               ns ไม่ใช่ 1 mus 1,000,000 m = 1 Mm ไม่ใช่ 1 kkm





               2. การวัด


                    การวัด (Measurement) คือ การใช้เครื่องมือช่วยในการระบุขนาด


               ของปริมาณต่าง ๆ ของวัตถุ โดยการเปรียบเทียบกับค่าปริมาณ


               มาตรฐานสากล ตามหน่วยในมาตราต่าง ๆ ของเครื่องมือเหล่านั้น


                     2.1 การเลือกใช้เครื่องมือวัด


                           เนื่องจากเครื่องมือวัดแต่ละประเภทมีความละเอียดแตกต่างกัน


               การที่จะเลือกเครื่องมือวัด แบบใดหรือประเภทใด ก็ต้องดูตามความ


               เหมาะสมกับงานนั้น  ๆ เช่น การวัดความยาวทั่ว  ๆ ไปควรใช้ตลับเมตร


               หรือไม้เมตร ซึ่งมีความละเอียดถึง  1 มิลลิเมตร แต่สําหรับงานกลึงหรือ


               งานเจียระไนโลหะ เครื่องมือวัดที่ต้องใช้ต้องมีความละเอียดถึงระดับ  0.1


               มิลลิเมตร หรือ 0.01 มิลลิเมตร สําหรับงานที่ต้องการความละเอียดสูงขึ้น


               ดังนั้นไม้บรรทัดจึงใช้วัดไม่ได้ต้องใช้เวอร์เนียร์หรือไมโครมิเตอร์
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59