Page 72 - วทยทษะ
P. 72

68

























                                            รูปที่ 4.1พลังงานนิวเคลียร์


               5. แรงเสียดทานและการใช้ประโยชน์


                    ในการออกแรงดึงวัตถุให้เคลื่อนที่ไปตามพื้น จะมีแรงต่าง ๆ มา


               กระทําต่อวัตถุ เช่น นํ้าหนักของวัตถุที่กดลงบนพื้น แรงปฏิกิริยาที่พื้น


               กระทําต่อวัตถุ แรงดึงเชือก และแรงเสียดทาน


               แรงเสียดทาน (Friction Force)


                    แรงเสียดทาน หมายถึง แรงที่เกิดระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ  เป็นแรง


               ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ มีทิศ ตรงข้ามกับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุเสมอ


               1. ปัจจัยที่มีผลต่อแรงเสียดทาน แรงเสียดทานจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ


                        1.1 นํ้าหนักของวัตถุที่กดลงบนผิวสัมผัส  ถ้านํ้าหนักมากแรงเสียด


               ทานจะมาก ถ้านํ้าหนักน้อย แรงเสียดทานจะน้อย


                        1.2 ลักษณะของผิวสัมผัส ถ้าผิวสัมผัสขรุขระมากแรงเสียดทานจะ


               มีค่ามาก ถ้าผิวขรุขระน้อย แรงเสียดทานจะน้อย


               อย่างไรก็ตาม แรงเสียดทานจะไม่ขึ้นกับขนาดของพื้นที่ผิวสัมผัส และ


               ความเร็วในการเคลื่อนที่ ของวัตถุ
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77