Page 73 - วทยทษะ
P. 73
69
2. ชนิดของแรงเสียดทาน แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของ
วัตถุที่เป็นของแข็งมีหลายชนิด
21. แรงเสียดทานสถิต (Static Friction) คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึ้น
เมื่อวัตถุพยายามจะเคลื่อนที่ ซึ่งมีค่าสูงสุดขณะที่วัตถุเริ่มเคลื่อนที่
2.2 แรงเสียดทานจลน์ (Kinetic Friction) คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึ้น
เมื่อวัตฤกําลังเคลื่อนที่
2.3. แรงเสียดทานหมุน (Roling Friction) คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึ้น
เมื่อวัตถุเคลื่อนที่เดยการ หมุนไปบนผิวของอีกวัตถุหนึ่ง เช่น ล้อรถ
เคลื่อนที่ไปบนถนน ล้อรถไฟเคลื่อนที่ไปตามราง เป็นต้น
เมื่อเปรียบเทียบค่าแรงเสียดทานทั้ง 3 ชนิด พบว่าแรงเสียดทาน
สถิตมีค่ามากกว่าแรงเสียดทาน จลน์ และแรงเสียดทานจลน์มีค่ามากกว่า
แรงเสียดทานหมุน
วิธีลดแรงเสียดทานในงานช่างทําได้ดังนี้
3.1 ทําให้ผิวหน้าสัมผัสเรียบ
3.2 การชโลมด้วยนํ้ามันหรือการใช้จาระบี
3.3 การใช้แบริงในงานช่างบางอย่าง เช่น การหมุนของเพลาต่าง ๆ จะ
มีการเสียดสีระหว่าง หน้าสัมผัสของเพลากับตัวรองรับแบริ่งที่ใช้ ได้แก่
บอลแบริ่ง โรลเลอร์แบริ่งนิดเดิลแบริง เป็นต้น
3.4 การใช้วัสดุลดความผิด โดยใช้วิธีการเคลือบบนผิวชิ้นงานที่มีการ
เสียดสี วัสดลดความผิด ได้แก่ ตะกั่วผสมทองแดง สังกะสีผสมทองแดง
และพลวง เป็นต้น