Page 70 - วทยทษะ
P. 70
66
กระทําต่อวัตถุขึ้นอยู่กับมวลของวัตถุนั้นและระยะห่างระหว่างมวล
กับจุดศูนย์กลางของโลก ยิ่งวัตถุอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางของโลกมาก
เท่าไร แรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทําต่อวัตถุจะยิ่งน้อยลงเท่านั้น
นักวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบแรงโน้มถ่วงของโลก คือ เซอร์ไอแซก นิวตัน เป็น
การ ค้นพบโดยบังเอิญขณะที่เขานั่งอยู่ใต้ต้นแอปเปิ้ล และสังเกตเห็นผล
แอปเปิ้ลตกจากต้นลงสู่พื้นดิน
4.4.2 (Magnetic Force)
แม่เหล็กมี 2 ขั้ว คือ ขั้วเหนือและขั้วใต้ ขั้วแม่เหล็ก
เหมือนกันจะออกแรงผลักกันขั้วต่างกัน จะออกแรงดึงดูดกันบริเวณรอบ
ๆ แท่งแม่เหล็กจะมีสนามแม่เหล็กเกิดขึ้นมีทิศจาก ขั้วเหนือไปสู่ขั้วใต้
เมื่ออยู่ในบริเวณสนามแม่เหล็กจะถูกแม่เหล็กดูดได้
หลักการนี้ถูก นําไปใช้ในการสร้างเครื่องมือ เช่น ไขควงจะสร้างให้มีสมบัติ
เป็นแม่เหล็กเพื่อสะดวกในการจับหัวน็อตให้ติด กับไขควงขณะใช้งาน
4.4.3 แรงไฟฟ้าสถิต (Electrostatic Force)
แรงระหว่างประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ แรงผลักและแรงดูด
กล่าวคือ ประจุเหมือนกันจะออก แรงผลักกัน ประจุต่างกันจะออกแรง
ดึงดูดกัน
4.4.4 แรงนิวเคลียร์ (Nuclear Force)