Page 11 - Memo_Setthagitporeang-Hight.indd
P. 11

หนังสือเรียน สาระทักษะการดําเนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา ตอน ปลาย (ทช31001)  3



                              ปรัชญา ของ เศรษฐกิจ พอเพียง ที่ ทรง ปรับปรุง พระราชทาน เปน ที่มา ของ นิยาม

                       “ 3   หวง  2   เงื่อนไข”   ที่ คณะ อนุกรรมการ ขับ เคลื่อน เศรษฐกิจ พอเพียง  สํานักงาน คณะกรรมการ
                       พัฒนาการ เศรษฐกิจ และ สังคม แหงชาติ  นํามา ใช ใน การ รณรงค เผย แพร  ปรัชญา ของ เศรษฐกิจ

                       พอเพียง  ผาน ชองทาง ตางๆ   อยู ใน ปจจุบัน  ซึ่ง ประกอบดวย ความ  “ พอประมาณ    มี เหตุผล
                       มี ภูมิ คุม กัน”   บน เงื่อนไข  “ ความรู  และ  คุณธรรม”
                              อภิชัย  พัน ธเสน  ผู อํานวยการ สถาบัน การ จัดการ เพื่อ ชนบท และ สังคม  ได จัด แนวคิด

                       เศรษฐกิจ พอ เพียงวา เปน  “ ขอเสนอ ใน การ ดําเนิน กิจกรรม ทาง เศรษฐกิจ ตาม แนวทาง ของ
                       พุทธธรรม อยาง แทจริง”   ทั้งนี้ เนื่องจาก ใน พระ ราช ดํารัส หนึ่ง  ได ให คํา อธิบาย ถึง  เศรษฐกิจ

                       พอ เพียงวา  “ คือ ความ พอประมาณ  ซื่อตรง  ไม โลภมาก  และ ตอง ไม เบียดเบียน ผูอื่น”
                              ระบบ เศรษฐกิจ พอเพียง  มุงเนน ให บุคคล สามารถ ประกอบ อาชีพ ได อยาง ยั่งยืน  และ
                       ใช จายเงิน ให ได มา อยาง พอเพียง และ ประหยัด  ตามกําลัง ของ เงิน ของ บุคคล นั้น  โดย ปราศจาก

                       การ กู หนี้ ยืม สิน  และ ถา มี เงิน เหลือ  ก็ แบง เก็บ ออมไว บางสวน  ชวยเหลือ ผูอื่น บางสวน  และ
                       อาจ จะ ใชจาย มา เพื่อ ปจจัย เสริม อีก บางสวน  ( ปจจัย เสริม ใน ที่นี้ เชน  ทองเ ที่ยว  ความ บันเทิง

                       เปนตน)   สาเหตุ ที่ แนวทาง การ ดํารงชีวิต อยาง พอเพียง  ได ถูก กลาว ถึง อยาง กวางขวาง ใน ขณะ
                       นี้ เพราะ สภาพ การ ดํารงชีวิต ของ สังคม ทุนนิยม ใน ปจจุบัน ได ถูก ปลูกฝง  สราง  หรือ กระตุน  ให
                       เกิด การ ใชจาย อยาง เกินตัว ใน เรื่อง ที่ ไม เกี่ยวของ หรือ เกิน กวา ปจจัย ใน การ ดํารงชีวิต  เชน

                       การ บริโภค เกินตัว  ความ บันเทิง หลากหลาย รูป แบบ ความ สวย ความ งาม  การ แตงตัว ตาม
                       แฟชั่น  การ พนัน หรือ เสี่ยงโชค  เปนตน   จน ทํา ให ไมมีเงิน เพียงพอ เพื่อ ตอบสนอง ความ ตอง

                       การ เหลา นั้น  สงผล ให เกิด การ กู หนี้ ยืม สิน  เกิด เปน วัฏจักร ที่ บุคคล หนึ่ง ไม สามารถ หลุด ออก
                       มา ได  ถา ไม เปลี่ยน แนวทาง ใน การ ดํารงชีวิต


                                                      ทางสายกลาง




                                                      พอประมาณ




                                                มีเหตุผล      มีภูมิคุมกัน






                                      เงื่อนไข ความรู                 เงื่อนไข  คุณธรรม
                                 (รอบรู  รอบคอบ  ระมัดระวัง)     (ซื่อสัตย สุจริต ขยัน อดทน แบง ปัน)




                                                    ชีวิต  เศรษฐกิจ  สังคม
                                                    สมดุล  มั่นคง  ยั่งยืน
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16